กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขาภพเทศบาลตำบลปาเสมัส ประจำปี 2562 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสุภัทรียา ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขาภพเทศบาลตำบลปาเสมัส ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2535-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขาภพเทศบาลตำบลปาเสมัส ประจำปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขาภพเทศบาลตำบลปาเสมัส ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขาภพเทศบาลตำบลปาเสมัส ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2535-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 207,455.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นชอบให้มีดำเนินงานระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นเพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตามมาตรา 18(9) และมาตรา 47 โดยได้เริ่มดำเนินงานในปี 2553 และกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทต.ปาเสมัส ได้จัดระเบียบการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม 5 ประเภท ตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนและแกนนำชุมชนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ สามารถนำมาเสนอจัดโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรู้บทบาทของคณะบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้สามารถศีกษาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันวางแผนในแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  2. 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องบกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชนแก่คณะกรรมการกองทุน คณะทำงานควบคุมกำกับและติดตามประเมินผลกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอและระดับจังหวัด
  3. 3. เพื่อพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ (1อำเภอ 1 ศูนย์เรียนรู้) ให้สามารถเป็นกองทุนต้นฉบับแบบ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ ในระดับอำเภอและระดับจังหวัด
  4. 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯ และสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนในพื้นที่
  5. 5. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะอนุกรรมการ 12 ครั้ง
  2. ค่าตอบแทนครูพี่เลี้ยงประขำกองทุนฯ
  3. ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะกรรมการ 12 ครั้ง
  4. ซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน
  5. ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับที่ปรึกษา 12 ครั้ง
  6. ค่าจ้างคีย์ข้อมูล 15 ครั้ง
  7. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  8. ค่าจ่ายในการเดินทางไปราชการและค่าลงทะเบียน
  9. ค่าวิทยากร
  10. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 6/2562
  11. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 7/2562
  12. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 5/2562
  13. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 8/2562
  14. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 9/2562
  15. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 10/2562
  16. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 11/2562
  17. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 12/2562
  18. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 5/2562
  19. ประชุมคณุะอนุกรรมการ ครั้งที่ 6/2562
  20. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 7/2562
  21. ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 8/2562
  22. ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 9/2562
  23. ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 10/2562
  24. ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 11/2562
  25. ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 12/2562
  26. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 3/2562
  27. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 4/2562
  28. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 5/2562
  29. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 6/2562
  30. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 7/2562
  31. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 8/2562
  32. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 9/2562
  33. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 10/2562
  34. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 11/2562
  35. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 12/2562
  36. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1/2562
  37. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2562
  38. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 1/2562
  39. ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 2/2562
  40. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3/2562
  41. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2562
  42. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 2/2562
  43. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
  44. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562
  45. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2562
  46. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4/2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมออนไลน์และมีฐานข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานกองทุนฯได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ในงานส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโครเรื้อรังในชุมชน
  2. คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระบบหลักประกันสุขภาพ มีระบบการบริหารจัดการ การติดตาม วิเคราะห์ ประมวลผล ผ่านระบบออนไลน์ สามารถ สามารถนำมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ของคณะกรรมการบริหารฯ
  3. จังหวัดนราธิวาสมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ที่สามารถเป็นตัวอย่าง (Best practice) ที่มีผลการดำเนินงานในระบบหลักประกันสุขภาพดีเด่น/เป็นนวัตหกรรม
  4. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมขององค์กรส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนราธิวาสเพื่อให้เกิดการประสานความร่วมมือในการดำเนินงานสุขภาพชุมชนทั้งในด้านการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และฟื้นฟูสมรรถภาพในระดัีบชุมชน
  5. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณการดำเนินงานของกองทุนฯ แก่คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เกิดวัตกรรมด้านการบริหารจัดการการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพกองป้องกันควบคุมโรคในชุมชนของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่ากระดาษถ่ายเอกสาร ขนาด A4 24 รีมๆละ 125 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท ปากกา จำนวน 1 กล่องๆละ 145 บาท เป็นเงิน 145 บาท ดินสอ 2 บี จำนวน 1 โหลๆละ 108 บาท เป็นเงิน 108 บาท น้ำยาลบคำผิด จำนวน 6 แท่งๆละ 60 บาท เป็นเงิน 360 บาท คลิบดำ no.110 จำนวน 6 กล่องๆละ 25 บาท เป็นเงิน 150 บาท คลิบดำ no.108 จำนวน 10 กล่องๆละ 55 บาท เป็นเงิน 550 บาท คลิบดำ no.112 จำนวน 6 กล่องๆละ 22 บาท เป็นเงิน 132 บาท แฟ้มเจาะ 3 นิ้ว จำนวน 2 โหลๆละ 720 บาท เป็นเงิน 1,440 บาท กระดาษสี A4 จำนวน 2 รีมๆละ 130 บาท เป็นเงิน 260 บาท     รวม 6,655 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

0 0

2. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4/2562 วันที่ 14 มิถุนายน 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

16 0

3. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2562 วันที่ 30 เมษายน 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

16 0

4. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562 วันที่ 22 เมษายน 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

19 0

5. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1/2562 ลงวันที่ 23 มกราคม 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

19 0

6. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2562  ลงวันที่ 10 เมษายน 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

16 0

7. ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3/2562 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

19 0

8. ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 2/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 2/2562  ลงวันที่ 1 มีนาคม 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

19 0

9. ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2562  ลงวันที่ 30 มกราคม 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

16 0

10. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 1/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมที่ปรึกษากองทุน ครั้งที่ 1/2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

2 0

11. ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 2/2562

วันที่ 3 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนประชุมที่ปรึกษา  ครั้งที่ 1/2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครบถ้วน

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและอนุกรรมการ มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ร้อยละ 90 %
0.00

 

2 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องบกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชนแก่คณะกรรมการกองทุน คณะทำงานควบคุมกำกับและติดตามประเมินผลกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอและระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ มีความรู้ ความเข้าใจในหลักกเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่น ร้อยละ 90 %
0.00

 

3 3. เพื่อพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ (1อำเภอ 1 ศูนย์เรียนรู้) ให้สามารถเป็นกองทุนต้นฉบับแบบ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ ในระดับอำเภอและระดับจังหวัด
ตัวชี้วัด : พัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ เพื่อให้สามารถเป็นต้นแบบในการบริหารกองทุนสู่ระดับขึ้นไป ร้อยละ 90 %
0.00

 

4 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯ และสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : สามารถสำรวจข้อมูลตามโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯ และสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของงานกองทุนในพื้นที่ ร้อยละ 90 %
0.00

 

5 5. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน
ตัวชี้วัด : ติดตามและประเมินผลการดำเนินการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ร้อยละ 90 %
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ (2) 2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องบกับการบริหารจัดการและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ รวมทั้งเรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในชุมชนแก่คณะกรรมการกองทุน คณะทำงานควบคุมกำกับและติดตามประเมินผลกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอและระดับจังหวัด (3) 3. เพื่อพัฒนาและยกระดับศูนย์เรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ระดับอำเภอ (1อำเภอ 1 ศูนย์เรียนรู้) ให้สามารถเป็นกองทุนต้นฉบับแบบ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ ในระดับอำเภอและระดับจังหวัด (4) 4. เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนให้มีการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบริหารจัดการกองทุนฯ และสามารถใช้ข้อมูลวิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินงานของกองทุนในพื้นที่ (5) 5. เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะอนุกรรมการ 12 ครั้ง (2) ค่าตอบแทนครูพี่เลี้ยงประขำกองทุนฯ (3) ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับคณะกรรมการ 12 ครั้ง (4) ซื้อวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน (5) ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับที่ปรึกษา 12 ครั้ง (6) ค่าจ้างคีย์ข้อมูล 15 ครั้ง (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (8) ค่าจ่ายในการเดินทางไปราชการและค่าลงทะเบียน (9) ค่าวิทยากร (10) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 6/2562 (11) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 7/2562 (12) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 5/2562 (13) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 8/2562 (14) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 9/2562 (15) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 10/2562 (16) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 11/2562 (17) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 12/2562 (18) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 5/2562 (19) ประชุมคณุะอนุกรรมการ ครั้งที่ 6/2562 (20) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 7/2562 (21) ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 8/2562 (22) ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 9/2562 (23) ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 10/2562 (24) ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 11/2562 (25) ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 12/2562 (26) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 3/2562 (27) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 4/2562 (28) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 5/2562 (29) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 6/2562 (30) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 7/2562 (31) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 8/2562 (32) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 9/2562 (33) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 10/2562 (34) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 11/2562 (35) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 12/2562 (36) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 1/2562 (37) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 1/2562 (38) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 1/2562 (39) ประชุมคณอนุกรรมการ ครั้งที่ 2/2562 (40) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 3/2562 (41) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2562 (42) ประชุมที่ปรึกษา ครั้งที่ 2/2562 (43) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ (44) ประชุมคณะอนุกรรมการ ครั้งที่ 4/2562 (45) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 3/2562 (46) ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 4/2562

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขาภพเทศบาลตำบลปาเสมัส ประจำปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2535-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุภัทรียา ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด