กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก
รหัสโครงการ 62-L8405-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่
วันที่อนุมัติ 7 ธันวาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 26,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นา.ญาณิศา น้อยสร้าง/ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.03,100.537place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 5459 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียในด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับปประเทศเรื่อยมา   ในปี พ.ศ.2561 อำเภอหาดใหญ่ด พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 275 ราย คิดเป็นอัตตราป่วย 86.48 ต่อประชากรแสนคน ยังพบรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.21 (รายงาน 506 สำนักระบาดวิทยา/สสจ.สงขลา ตำบลทุ่งใหญ่ ปี พ.ศ.2561 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 2 ราย ซึ่งการระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมีนาคม -ตุลาคมของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนพอดีและชีวนิสัยของยุงชอบออกหากินเวลากลางวัน จึงสันนิฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายโรค จะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน ด้วยเหตุนี้ การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแกก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็ดนเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดดำเนินการ ปัจจุบันในตำบลทุ่งใหญ่พบว่าสถานการณ์โรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้น จึงจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้า และทันท่วงทีที่เกิดโรค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน วัด

ค่าดัชนีลูกน้ำ  CI เท่ากับ 0 HI น้อยกว่า 10 และเมื่อเปรียบเทียบค่าดัชนีลูกน้ำ จากการสุ่มครั้งที่ 2 ต้องน้อยกว่าครั้งที่ 1

10.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

2.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 20,905.00 0 0.00
22 มี.ค. 62 - 22 ส.ค. 62 รณรงค์และและกำจัดลูกน้ำยุงลาย 0 20,900.00 -
27 มี.ค. 62 - 27 ส.ค. 62 กิจกรรมสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย 0 5.00 -

กิจกรรมที่ 1 มือปราบตัวนิด พิชิตไข้เลือดออก (สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้นำชุมชน และนักเรียนดังนี้ - สำรวจแหล่งเพาะดันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน วัด - ร่วมกำจัดแหล่งเพาะดันลูกน้ำยุงลาย - รรรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสุ่มประเมินลูกน้ำยุงลาย กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายบ้านเรือน - สุ่มตรวจลูหน้ำยุงลายในหมู่บ้าน ทั้ง 6 หมู่บ้าน โรงเรียน วัด - ประกาศบ้านเรือนปลอดลูกน้ำยุงลาย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของตำบลทุ่งใหญ่ลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2562 15:21 น.