กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการภูมิปัญญาไทยห่วงใยผู้ป่วยเบาหวาน
รหัสโครงการ 60-5221-1-001
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอน
วันที่อนุมัติ 22 กุมภาพันธ์ 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 23 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 22,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอาภรณ์ สุริมานนท์
พี่เลี้ยงโครงการ นายจำรัส หวังมณีย์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.842,100.342place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 28 มิ.ย. 2560 28 มิ.ย. 2560 22,000.00
รวมงบประมาณ 22,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังที่รักษาไม่หายขาด สามารถทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ มากมาย ทั้งชนิดเฉียบพลัน เช่น ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ และการติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อนชนิดเรื้่อรัง ได้แก่ ไตวาย แผลเรื้อรังที่เท้า สาเหตุสำคัญของการเกิดแผลที่เท้า คือ ภาวะปลายประสาทเท้าเสื่อม ทำให้ผู้ป่วยต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงในการเดินทางมารับการรักษาอย่างต่อเนื่่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนได้นำความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยมาประยุกต์ใช้ในการรักษา เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ป่วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชามือและเท้าได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย

ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการฟื้นฟูอาการชามือและเท้า

ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนด้วยอาการชา ได้รับบริการฟื้นฟูไม่น้อยกว่าร้อยละ 30

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ให้ความรู้พร้อมแจกคู่มือในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย
  2. สำรวจกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชามือและเท้า
  3. ติดตามและประเมินผลการฟื้นฟูอาการชาจากการรับบริการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชามือและเท้ามีความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
  2. เพิ่มทางเลือกในการดูแลสุขภาพให้กับผู้ป่วยเบาหวาน
  3. ช่วยสืบทอดภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์แผนไทยให้คงอยู่ต่อไป
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 มี.ค. 2560 10:22 น.