กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการรู้ทันใส่ใจ พัฒนาการสมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM (การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย) ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางญาณิศา น้อยสร้าง/ ผอ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่

ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันใส่ใจ พัฒนาการสมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM (การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8405-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ทันใส่ใจ พัฒนาการสมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM (การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ทันใส่ใจ พัฒนาการสมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM (การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ทันใส่ใจ พัฒนาการสมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM (การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L8405-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พัฒนาการของมนุษย์เป็นขบวนการที่เปลี่ยนแปลง (พัฒนา) เป็นขั้นตอนอย่างต่อเนื่องและมีรูปแบบเฉพาะ กล่าวคือ พัฒนาการจะเริ่มจากส่วนศรีษะ ไปส่วนขา ทารกจะเริ่มมีพัฒนาการตั้งแต่แรกเกิดเป็นต้นไป ซึ่งระยะแรกเกิดเขาจะช่วยเหลือตนเองไม่ได้ จำเป็นต้องอาศัยผู้ดูแล พ่อ แม่ ในการให้การช่วยเหลือด้านอาหาร หใ้ความรัก ความอบอุ่น ดูแลเอาใจใส่ให้ทารกมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกด้านต่าง ๆ เช่น การได้ยิน การมองเห็น การเคลื่อนไหวส่วนของร่างกาย ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ได้ชื่อว่าเป็นการกระตุ้นพัฒนาการซึ่งพ่อแม่ได้ให้แก่ลูก นอกจากนั้น ยังพบว่าสภาพครอบครัว สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ทั้งที่เป็นบุคคลและสิ่งของ ฯลฯ ล้วนมีส่วนช่วยเสริมสร้างพัฒนาการให้แก่เด็กได้ และผลของการมีพัฒนาการที่ดีระยะแรกเกิดถึง 8 ขวบ จะช่วยให้เด็กนำประสบการณ์ช่วงนี้มาแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตหรือเชาว์ปัญญาได้ประมาณ 80-90 % ดังนั้น การกระตุ้นพัฒนาการตั้งแต่แรก จึงมีความสำคัญและจำเป็นมากที่ผู้ใหญ่จะให้แก่เด็ก แต่ปัจจุบันสภาวะเศรษฐกิจสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาก จากเดิมที่ผู้หญิงจะทำงานบ้านดูแลเอาใจใส่บุตรด้วยตนเอง เปลี่ยนเป็นต้องออกไปประกอบอาชีพนอกบ้านเพื่อช่วยฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว แม้กระทั่งระยะการเลี้ยงดูบุตรเล็ก ๆ ก็ตาม นอกจากนั้นยังพบว่าสภาพครอบครัว การเลี้ยงดูเด็กก็เปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน จากเดิมผู้เลี้ยงเป็น พ่อแม่ ปู่ย่าตายาย ซึ่งมีสายสัมพันธ์กับเด็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กที่มีการพัฒนาการล่าช้า
  2. เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองประเมินพัฒนาการและค้นหาเด็กที่มีภาวะเสี่ยง
  2. ส่งรักษาต่อ กรณีพบเด็กที่มีกากรพัฒนาล่าช้า
  3. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 134
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กในกลุ่มวัยที่มีพัฒนาการที่ล่าช้า ได้รับการส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการการโดยใช้เครื่องมือ DSPM มีพัฒนาการที่ดีขึ้นเหมาะสมกับวัย ร้อยละ 100


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.พ่อแม่ ผู้ปกครองจำนวน 80 คน ที่เข้ารับการอบรม มีความรู้เรื่องการใช้เครื่องมือ DSPM (การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย) เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 89.5 2.ตรวจติดตามพัฒนาการเด็ก กลุ่มวัย 9,18,30,42 เดือน จำนวน 134 คน พบว่ามีพัฒนาการที่สมวัย จำนวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 79.5 และสงสัยว่ามีพัฒนาการที่ล่าช้า จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 26.89 3. เด็กที่มีพัฒนาล่าช้าได้ส่งตัวไปกระตุ้นพัฒนาการที่โรงพยาบาลหาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 3

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กที่มีการพัฒนาการล่าช้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการส่งเสริมและมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ร้อยละ 100
100.00 100.00

เด็กที่สงสัยและตรวจพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าจะได้รับการกระตุ้น และฝึกตรวจพัฒนาการจากพ่อแม่ ผู้ปกครองอย่างต่อเนื่องและจริงจัง

2 เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า(คน)
2.00 26.00

เด็กที่มีพัฒนาการที่ล่าช้าจะได้รับกาส่งตัวไป กระตุ้นพัฒนาการที่โรงพยาบาลหาดใหญ่

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 134
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 134
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กที่มีการพัฒนาการล่าช้า (2) เพื่อแก้เด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองประเมินพัฒนาการและค้นหาเด็กที่มีภาวะเสี่ยง (2) ส่งรักษาต่อ กรณีพบเด็กที่มีกากรพัฒนาล่าช้า (3) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ทันใส่ใจ พัฒนาการสมวัยโดยใช้เครื่องมือ DSPM (การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L8405-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางญาณิศา น้อยสร้าง/ ผอ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด