โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันการเปลี่ยนของโลกและเศรษฐกิจ ส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะประชาชนในระดับรากหญ้าชนบทได้รับความเดือดร้อนในด้านความเป็นอยู่แต่ละครัวเรือนต้องดิ้นรนเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินทองและความเจริญทางเทคโนโลยีทำให้เป็นสาเหตุหนึ่งของการฝากครรภ์ล่าช้า (หลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ) นอกจากนี้สาเหตุของการฝากครรภ์ล่าช้าคือ วัยรุ่นที่ขาดความรู้เรื่องการคุมกำเนิด มีรักในวัยเรียน ส่งผลให้มีแม่วัยรุ่นในช่วงอายุ 13 - 19 ปี มากขึ้น วัยรุ่นเหล่านี้มักปกปิดการตั้งครรภ์ ทำให้เกิดปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น ส่วนแม่ครรภ์หลังๆไม่เห็นความสำคัญของการรีบฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ จากการขาดความรู้ ขาดความตระหนัก จากการฝากครรภ์ล่าช้าทำให้ไม่ได้รับการดูแลก่อนคลอดที่เหมาะสม ทารกในครรภ์ไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพทำให้เด็กที่คลอดออกมาสุขภาพไม่สมบูรณ์น้ำหนักน้อย พัฒนาการไม่สมวัยได้ ในระหว่างการตั้งครรภ์ประมาณ 40 สัปดาห์ หรือ 9 เดือนเศษนั้น มีสิ่งที่ควรปฏิบัติและระมัดระวังหลายอย่าง เพื่อให้ได้ผลการคลอดที่ทั้งบุตรและมารดาปลอดภัย และมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ก่อนจะตั้งครรภ์นั้นเราต้องวางแผนไว้ก่อน ทุกวันนี้ในสังคมไทยมีการร่วมเพศก่อนแต่งงานสูงขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาคือ ไม่ได้วางแผนคุมกำเนิด ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ขึ้นได้ พวกนี้มักอ้างว่าร่วมเพศครั้งแรกแล้วไม่เห็นตั้งครรภ์ หรืออยู่ด้วยกันมาเป็นปีๆ ประจำเดือนก็มาตลอดจึงไม่ได้คุมกำเนิด ต้องเข้าในว่าช่วงแรกๆ ร่วมเพศแล้วไม่ตั้งครรภ์ จึงคิดประมาทว่าจะไม่ตั้งครรภ์ในครั้งต่อๆ ไปไม่ได้เพราะการตั้งครรภ์ขึ้นกับรอบจังหวะและสิ่งประกอบหลายๆ อย่าง เมืองตั้งครรภ์แล้วก็ต้องรีบฝากครรภ์เพื่อตรวจเลือดหาภาวะชีด หรือโรคติดต่อต่างๆ เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทั้งหญิงตั้งครรภ์และทารภในครรภ์ มารับการแนะนำด้านโภชนาการและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง เพื่อเตรียมทารกให้คลอดอย่างปลอดภัย เติบโตอย่างมีพัฒนาการที่ดีมีคุณภาพ ไปขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
- 2 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
- 3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน
- 4 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
- 5 เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสา และอาสาสมัครสาธารณสุข
- 6 เพื่อให้ความรุ้หญิงวัยเจริญพันธ์ุ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมที่ 1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
- กิจกรรมที่ 2 กลุ่ม อสม. และชมรมแม่อาสา
- กิจกรรมที่ 3 หญิงวัยเจริญพันธ์ุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
120
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.คาดว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอกทุกคน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
2.คาดว่าหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีภาวะสุขภาพที่ดีจนถึงคลอด
3.หญิงวัยเจริญพันธ์สามารถป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์
วันที่ 23 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
0
0
2. กิจกรรมที่ 1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
วันที่ 24 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
60
0
3. กิจกรรมที่ 2 กลุ่ม อสม. และชมรมแม่อาสา
วันที่ 25 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
30
0
4. กิจกรรมที่ 3 หญิงวัยเจริญพันธ์ุ
วันที่ 26 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานตามโครงการกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด เข้าร่วมการอบรมจำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 95 สมาชิกชมรมจิตอาสา จำนวน 30 คน ได้รับการอบรมครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 และหญิงเจริญพันธุ์ จำนวน 30 คน ได้รับการอบรมครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 ทุกคนให้ความสนใจโดยสังเกตจากการซัก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00
4
4 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
ตัวชี้วัด :
0.00
5
5 เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสา และอาสาสมัครสาธารณสุข
ตัวชี้วัด :
0.00
6
6 เพื่อให้ความรุ้หญิงวัยเจริญพันธ์ุ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
120
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ (2) 2 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด (3) 3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน (4) 4 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด (5) 5 เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสา และอาสาสมัครสาธารณสุข (6) 6 เพื่อให้ความรุ้หญิงวัยเจริญพันธ์ุ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมที่ 1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด (3) กิจกรรมที่ 2 กลุ่ม อสม. และชมรมแม่อาสา (4) กิจกรรมที่ 3 หญิงวัยเจริญพันธ์ุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,525.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันการเปลี่ยนของโลกและเศรษฐกิจ ส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนโดยเฉพาะประชาชนในระดับรากหญ้าชนบทได้รับความเดือดร้อนในด้านความเป็นอยู่แต่ละครัวเรือนต้องดิ้นรนเพื่อให้ได้มาซึ่งเงินทองและความเจริญทางเทคโนโลยีทำให้เป็นสาเหตุหนึ่งของการฝากครรภ์ล่าช้า (หลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ) นอกจากนี้สาเหตุของการฝากครรภ์ล่าช้าคือ วัยรุ่นที่ขาดความรู้เรื่องการคุมกำเนิด มีรักในวัยเรียน ส่งผลให้มีแม่วัยรุ่นในช่วงอายุ 13 - 19 ปี มากขึ้น วัยรุ่นเหล่านี้มักปกปิดการตั้งครรภ์ ทำให้เกิดปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น ส่วนแม่ครรภ์หลังๆไม่เห็นความสำคัญของการรีบฝากครรภ์ทันทีที่รู้ว่าตั้งครรภ์ จากการขาดความรู้ ขาดความตระหนัก จากการฝากครรภ์ล่าช้าทำให้ไม่ได้รับการดูแลก่อนคลอดที่เหมาะสม ทารกในครรภ์ไม่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพทำให้เด็กที่คลอดออกมาสุขภาพไม่สมบูรณ์น้ำหนักน้อย พัฒนาการไม่สมวัยได้ ในระหว่างการตั้งครรภ์ประมาณ 40 สัปดาห์ หรือ 9 เดือนเศษนั้น มีสิ่งที่ควรปฏิบัติและระมัดระวังหลายอย่าง เพื่อให้ได้ผลการคลอดที่ทั้งบุตรและมารดาปลอดภัย และมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ ก่อนจะตั้งครรภ์นั้นเราต้องวางแผนไว้ก่อน ทุกวันนี้ในสังคมไทยมีการร่วมเพศก่อนแต่งงานสูงขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาคือ ไม่ได้วางแผนคุมกำเนิด ทำให้เกิดการตั้งครรภ์ขึ้นได้ พวกนี้มักอ้างว่าร่วมเพศครั้งแรกแล้วไม่เห็นตั้งครรภ์ หรืออยู่ด้วยกันมาเป็นปีๆ ประจำเดือนก็มาตลอดจึงไม่ได้คุมกำเนิด ต้องเข้าในว่าช่วงแรกๆ ร่วมเพศแล้วไม่ตั้งครรภ์ จึงคิดประมาทว่าจะไม่ตั้งครรภ์ในครั้งต่อๆ ไปไม่ได้เพราะการตั้งครรภ์ขึ้นกับรอบจังหวะและสิ่งประกอบหลายๆ อย่าง เมืองตั้งครรภ์แล้วก็ต้องรีบฝากครรภ์เพื่อตรวจเลือดหาภาวะชีด หรือโรคติดต่อต่างๆ เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนทั้งหญิงตั้งครรภ์และทารภในครรภ์ มารับการแนะนำด้านโภชนาการและการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง เพื่อเตรียมทารกให้คลอดอย่างปลอดภัย เติบโตอย่างมีพัฒนาการที่ดีมีคุณภาพ ไปขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอนาคต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์
- 2 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด
- 3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน
- 4 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
- 5 เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสา และอาสาสมัครสาธารณสุข
- 6 เพื่อให้ความรุ้หญิงวัยเจริญพันธ์ุ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมที่ 1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด
- กิจกรรมที่ 2 กลุ่ม อสม. และชมรมแม่อาสา
- กิจกรรมที่ 3 หญิงวัยเจริญพันธ์ุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 120 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.คาดว่าหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอกทุกคน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 2.คาดว่าหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีภาวะสุขภาพที่ดีจนถึงคลอด 3.หญิงวัยเจริญพันธ์สามารถป้องกันตนเองจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 23 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด |
||
วันที่ 24 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
60 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 2 กลุ่ม อสม. และชมรมแม่อาสา |
||
วันที่ 25 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
30 | 0 |
4. กิจกรรมที่ 3 หญิงวัยเจริญพันธ์ุ |
||
วันที่ 26 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานตามโครงการกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด เข้าร่วมการอบรมจำนวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 95 สมาชิกชมรมจิตอาสา จำนวน 30 คน ได้รับการอบรมครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 และหญิงเจริญพันธุ์ จำนวน 30 คน ได้รับการอบรมครบทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 ทุกคนให้ความสนใจโดยสังเกตจากการซัก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | 4 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
5 | 5 เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสา และอาสาสมัครสาธารณสุข ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
6 | 6 เพื่อให้ความรุ้หญิงวัยเจริญพันธ์ุ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 120 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อค้นและติดตามหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ทันทีที่ทราบว่าตั้งครรภ์ (2) 2 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในขณะตั้งครรภ์ คลอดและหลังคลอด (3) 3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน (4) 4 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายและชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด (5) 5 เพื่อฟื้นฟูและพัฒนาศักยภาพชมรมแม่อาสา และอาสาสมัครสาธารณสุข (6) 6 เพื่อให้ความรุ้หญิงวัยเจริญพันธ์ุ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมที่ 1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด (3) กิจกรรมที่ 2 กลุ่ม อสม. และชมรมแม่อาสา (4) กิจกรรมที่ 3 หญิงวัยเจริญพันธ์ุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฝากครรภ์เร็ว ฝากครรภ์ครบเพื่อลูกปลอดภัยปี 2562 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......