กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง


“ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายกอเซ็ง บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8300-3-03 เลขที่ข้อตกลง 20

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กันยายน 2563 ถึง 16 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8300-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กันยายน 2563 - 16 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยว ดำเนินชีวิตเพียงลำพัง จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย สิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแห่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม
        กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลแว้ง มีบทบาทส่งเสริมการเตรียมความพร้อมสู่วัยสูงอายุ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหน่วยงานต่างๆจะเล็งเห็นความสำคัญของการเตรียมความพร้อมบุคคลให้มีความตระหนักรู้ถึงความจำเป็นของการเตรียมการด้านต่างๆ เพื่อเป็นผู้สูงอายุที่สามารถดำรงชีวิตได้อย่างร่มเย็น ผาสุก และนำไปขยายผลในการจัดอบรมให้กับบุคคลกรของหน่วยงานเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุที่มีคุณภาพในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุในกิจวัตรประจำวัน
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นผู้สูงอายุ
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้ทราบถึงการมีบทบาทและความสำคัญในภาวะที่เป็นผู้สูงอายุเพื่อให้ดำรงชีวิตและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. บรรยายให้ความรู้หลักสูตรการเตรียมความพร้อมบุคคลเข้าสู่วัยผู้สุงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุในกิจวัตรประจำวัน
  2. ผู้เข้ารับการอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นผู้สูงอายุ
  3. ผู้เข้ารับการอบรมทราบถึงการมีบทบาทและความสำคัญในภาวะที่เป็นผู้สูงอายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บรรยายให้ความรู้หลักสูตรการเตรียมความพร้อมบุคคลเข้าสู่วัยผู้สุงอายุ

วันที่ 19 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

1.เสนอโครงการ นำเสนอให้คณะกรรมการเห็นความสำคัญของการเตรียมความพร้อมบุคคลเข้าสู่วัยสูงอายุ
2.แต่งตั้งคณะกรรมการ มอบหมายหน้าที่รับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรม 3. กำหนดเป้าหมายที่เป็นผู้นำธรรมชาติในชุมชน 4. จัดอบรม หลักสูตรการเตรียมความพร้อมบุคคลเข้าสู่วัยสูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุในกิจวัตรประจำวันและให้ทราบถึงการมีบทบาทและความสำคัญในภาวะที่เป็นผู้สูงอายุเพื่อให้ดำรงชีวิตและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุในกิจวัตรประจำวันและให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นผู้สูงอายุและให้ทราบถึงการมีบทบาทและความสำคัญในภาวะที่เป็นผู้สูงอายุเพื่อให้ดำรงชีวิตและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุในกิจวัตรประจำวัน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุหรือผู้เข้ารับการอบรมสามารปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 90 2.ผู้สูงอายุหรือผู้เข้ารับการอบรมมีการดูแลสุขภาพอนามัยตามสุขบัญญัติของผู้สูงอายุร้อยละ 90 3.ผู้สูงอายุหรือผู้เข้ารับการอบรมมีสุขภาพจิตและการปรับตัวต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ร้อยละ 80
70.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูอายุหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความทรงจำดีขึ้นร้อยละ 90 2.ผู้สูงอายุหรือผู้เข้ารับการอบรมมีการออกกำลังกายอย่างถูกวิธีสำหรับผู้สูงอายุร้อยละ 90 3.ผู้สูงอายุหรือผู้เข้ารับการอบรม มีการนอนและพักผ่อนที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุร้อยละ 90
80.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้ทราบถึงการมีบทบาทและความสำคัญในภาวะที่เป็นผู้สูงอายุเพื่อให้ดำรงชีวิตและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุหรือผู้เข้ารับการอบรมมีบทบาทในสังคมและได้รับการยอรับร้อยละ 95 2.มีการแสดงบทบาท ถ่ายทอดประสบการณ์ไปยังกลุ่มเป้าหมายที่ไม่เข้าอบรมร้อยละ 80 3.ผู้สูงอายุหรือผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในกลุ่ม กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลแว้งร้อยละ 90
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 111
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100 111
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุในกิจวัตรประจำวัน (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเป็นผู้สูงอายุ (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้ทราบถึงการมีบทบาทและความสำคัญในภาวะที่เป็นผู้สูงอายุเพื่อให้ดำรงชีวิตและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) บรรยายให้ความรู้หลักสูตรการเตรียมความพร้อมบุคคลเข้าสู่วัยผู้สุงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8300-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกอเซ็ง บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด