กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ในเรื่องสมุนไพรในงานสาธาณสุขมูลฐาน7 พฤศจิกายน 2562
7
พฤศจิกายน 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เขียนโครงการและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แว้ง เพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมวางแผน กำหนด วัน เวลา สถานที่ ในการจัดโครงการ 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม โดยประสาน อสม.ในพื้นที่ 4.จัดเตรียมสถานที่  วิทยากร อุปกรณ์และแบบฟอร์มต่างๆใช้ในการในการอบรมความรู้สมุนไพร 5.ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน 6.จัดเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์ในการปลูกสมุนไพร
7.ทำกิจกรรมปลูกสมุนไพรประจำบ้าน เช่น รางจืด ไพล ทองพันชั่ง ฟ้าทลายโจร พญายอ กะเพราแดง  ขิง ขมิ้น พลับพลึง มะระขี้นก เป็นต้น 8.ติดตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประเมินผลการปลูกสมุนไพร ภายใน 3 เดือน เดือนละ 1 ครั้งและมีการจัดกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและแนวทางในการแก้ปัญหา
9. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้พืชสมุนไพรและเพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชน โดยมีกิจกรรมการอบรมให้ความรู้สมุนไพรและกิจกรรมปลูกสมุนไพรริมรั้ว กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างดีและบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ

การปลูกสมุนไพรพร้อมป้ายให้ความรู้8 เมษายน 2562
8
เมษายน 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.เขียนโครงการและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แว้ง เพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมวางแผน กำหนด วัน เวลา สถานที่ ในการจัดโครงการ 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม โดยประสาน อสม.ในพื้นที่ 4.จัดเตรียมสถานที่  วิทยากร อุปกรณ์และแบบฟอร์มต่างๆใช้ในการในการอบรมความรู้สมุนไพร 5.ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน 6.จัดเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์ในการปลูกสมุนไพร
7.ทำกิจกรรมปลูกสมุนไพรประจำบ้าน เช่น รางจืด ไพล ทองพันชั่ง ฟ้าทลายโจร พญายอ กะเพราแดง  ขิง ขมิ้น พลับพลึง มะระขี้นก เป็นต้น 8.ติดตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประเมินผลการปลูกสมุนไพร ภายใน 3 เดือน เดือนละ 1 ครั้งและมีการจัดกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและแนวทางในการแก้ปัญหา
9. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ในกามรจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น มีความรู้ความเข้าใจเก่ี่ยวกับการใช้สมุนไพรและกิจกรรมและเพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชนโดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้สมุนไพรและกิจกรรมปลูกสมุนไพรริมรั้ว กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างดี และบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ