โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางปพิชญาปัทมินทร์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นและโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับมะเร็งปอดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำPapsmearหรือVIA (VisualInspectionofcervixwithAceticacid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy)ปีงบประมาณ2553 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีPapsmearและVIA ในสตรีไทยอายุ30 - 60ปีกำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ2553 - 2557ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ในปี 255๕ – 555๙โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตกได้ดำเนินการคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกมีผลงานสะสม5ปี (๒๕๕๕–๒๕๕๙)เป้าหมาย ๒๓๖ คน ได้รับการตรวจคัดกรอง ๑๖๕คนคิดเป็นร้อยละ ๖๙.๐๐ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)และการคัดกรองมะเร็งเต้านมในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เป้าหมาย ๒๗๓ คนได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ๒๔๗ คนคิดเป็นร้อยละ๙๐.๔๘ ในปี 25๖๐ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตกมีสตรีกลุ่มอายุ 30 - 60 ปี จำนวน ๒๔๗ คน เป้าหมายการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562 ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐)และมีสตรีกลุ่มอายุ 30 – ๗0 ปี จำนวน ๒๘๑ คน(ผลการคัดกรองไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐) เพื่อให้การดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมบรรลุผลมากขึ้นจึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขซึ่งอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนเพื่อช่วยรณรงค์ประชาสัมพันธ์และติดตามสตรีกลุ่มกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการตรวจคัดกรอง
ดังนั้นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตกตำบลสุคิรินอำเภอสุคิริน จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปีงบประมาณ 25๖๐ ขึ้นเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและตายโรคมะเร็งปากมกลูกและมะเร็งเต้านม ช่วยป้องกันการเกิดโรคและการลุกลามของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมหากตรวจพบได้ในระยะแรก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
- 2. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรี
กลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562)
- 3.เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษา
อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานสาธาณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- จำนวนสตรีอายุ30 – 70ปี มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเพิ่มมากขึ้น
- จำนวนสตรีกลุ่มอายุ30 – 60ปีมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น
- สามารถลดความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในผู้ป่วยลงด้วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. รณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
วันที่ 13 กรกฎาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ขั้นเตรียมการ
1. วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
2. จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานสาธารณสุขอำเภอสุคิริน ปีงบประมาณ 2560 และลงรายละเอียดกิจกรรม
3. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการดำเนินงาน
ขั้นดำเนินงาน
กิจกรรมที่1 ค้นหา นำส่งกลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรมที่ 2 เรียนรู้ด้วยกัน เพื่อรู้ทันมะเร็ง
ขั้นประเมินผล
1. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-70 ปี มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมดดยสรุปรายงานการคัดกรองทุกๆ 1 เดือน
2. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี มารับบริการตรวจคัดกรองทะเร็งปากมดลูก โดยสรุปรายงานคัดกรองทุกๆ 1 เดือน
3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยรักษาและติดตามเยี่ยมดูแลอย่างต่อเนื่องทุกราย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จัดทำหนังสือเชิญระบุชื่อ สกุลชัดเจน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทราบว่าตนต้องตรวจคัดกรอง
- มีการประชาสัมพันธ์ เชิญชวนโดยเจ้าหน้าที่และอสม
- มีการให้ความรู้และอธิบายถึงความรุนแรงของโรคก่อนการตรวจคัดกรอง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการประจำงบประมาณ ปี 2560 กลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-70 จำนวน 296 คน กลุ่มเป้าหมายคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สตรีมีอายุ 30-60 ปี จำนวน 241 คน ได้รับเข้ารับการอบรมให้ความรู้ 148 คน ไม่พบอาการผิดปกติ และได้รับความรู้ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และบุคุคลที่เสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมี ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องร้อยละ80
2
2. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรี
กลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562)
ตัวชี้วัด : เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562)ร้อยละ80
3
3.เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษา
อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 3.ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการส่งต่อ การรักษาอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่องทุกราย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรี
กลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562) (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษา
อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานสาธาณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปพิชญาปัทมินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางปพิชญาปัทมินทร์
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นและโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับมะเร็งปอดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำPapsmearหรือVIA (VisualInspectionofcervixwithAceticacid)ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบและการจี้เย็น (Cryotherapy)ปีงบประมาณ2553 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีPapsmearและVIA ในสตรีไทยอายุ30 - 60ปีกำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ปีงบประมาณ2553 - 2557ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในปี 255๕ – 555๙โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตกได้ดำเนินการคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกมีผลงานสะสม5ปี (๒๕๕๕–๒๕๕๙)เป้าหมาย ๒๓๖ คน ได้รับการตรวจคัดกรอง ๑๖๕คนคิดเป็นร้อยละ ๖๙.๐๐ ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)และการคัดกรองมะเร็งเต้านมในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เป้าหมาย ๒๗๓ คนได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ๒๔๗ คนคิดเป็นร้อยละ๙๐.๔๘ ในปี 25๖๐ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตกมีสตรีกลุ่มอายุ 30 - 60 ปี จำนวน ๒๔๗ คน เป้าหมายการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562 ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐)และมีสตรีกลุ่มอายุ 30 – ๗0 ปี จำนวน ๒๘๑ คน(ผลการคัดกรองไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐) เพื่อให้การดำเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมบรรลุผลมากขึ้นจึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขซึ่งอยู่ใกล้ชิดกับชุมชนเพื่อช่วยรณรงค์ประชาสัมพันธ์และติดตามสตรีกลุ่มกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการตรวจคัดกรอง ดังนั้นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำตกตำบลสุคิรินอำเภอสุคิริน จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมประจำปีงบประมาณ 25๖๐ ขึ้นเพื่อลดจำนวนผู้ป่วยและตายโรคมะเร็งปากมกลูกและมะเร็งเต้านม ช่วยป้องกันการเกิดโรคและการลุกลามของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมหากตรวจพบได้ในระยะแรก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง
- 2. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรี กลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562)
- 3.เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษา อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานสาธาณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- จำนวนสตรีอายุ30 – 70ปี มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมเพิ่มมากขึ้น
- จำนวนสตรีกลุ่มอายุ30 – 60ปีมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มมากขึ้น
- สามารถลดความรุนแรงของโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในผู้ป่วยลงด้วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. รณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม |
||
วันที่ 13 กรกฎาคม 2560กิจกรรมที่ทำขั้นเตรียมการ 1. วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม 2. จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานสาธารณสุขอำเภอสุคิริน ปีงบประมาณ 2560 และลงรายละเอียดกิจกรรม 3. เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในการดำเนินงาน ขั้นดำเนินงาน กิจกรรมที่1 ค้นหา นำส่งกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรมที่ 2 เรียนรู้ด้วยกัน เพื่อรู้ทันมะเร็ง ขั้นประเมินผล 1. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-70 ปี มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมดดยสรุปรายงานการคัดกรองทุกๆ 1 เดือน 2. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีอายุ 30-60 ปี มารับบริการตรวจคัดกรองทะเร็งปากมดลูก โดยสรุปรายงานคัดกรองทุกๆ 1 เดือน 3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจคัดกรองผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการวินิจฉัยรักษาและติดตามเยี่ยมดูแลอย่างต่อเนื่องทุกราย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินงานโครงการประจำงบประมาณ ปี 2560 กลุ่มเป้าหมายตรวจมะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-70 จำนวน 296 คน กลุ่มเป้าหมายคัดกรองมะเร็งปากมดลูก สตรีมีอายุ 30-60 ปี จำนวน 241 คน ได้รับเข้ารับการอบรมให้ความรู้ 148 คน ไม่พบอาการผิดปกติ และได้รับความรู้ในเรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และบุคุคลที่เสี่ยงต่อโรคมะเร็งปากมดลูก
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเป้าหมายมี ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องร้อยละ80 |
|
|||
2 | 2. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรี
กลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562) ตัวชี้วัด : เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562)ร้อยละ80 |
|
|||
3 | 3.เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษา
อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : 3.ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้รับการส่งต่อ การรักษาอย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่องทุกราย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อกระตุ้นและสร้างกระแสในการรณรงค์การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสตรี กลุ่มเป้าหมาย อายุ 30 – 60 ปี ให้ได้ ร้อยละ 80 (ผลงานสะสม พ.ศ. 2558 – 2562) (3) 3.เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทุกราย ได้รับการส่งต่อ การรักษา อย่างถูกต้องตามมาตรฐานและได้รับการติดตามอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานสาธาณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปพิชญาปัทมินทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......