กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการพัฒนาบริการด้านแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาบริการด้านแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาบริการด้านแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาบริการด้านแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาบริการด้านแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาตั้งแต่ก่อนสมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคม วัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์ ตลอดจนการรักษาทางจิตใจ โดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆ ซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ และความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอดและผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะมีจำนวนลดลง ทำให้ชุมชนได้ รับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้งๆ ที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้ อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทยทั้งที่เป็นตัวหมอพื้นบ้าน ตำรา พันธุ์พืชที่ใช้เป็นยา สมุนไพร วิธีการการรักษาโรค ตลอดจนสังคมวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต ฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ ฟื้นฟู  ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทยให้อยู่คู่กับประเทศไทย เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้ สมุนไพร คือของขวัญที่ธรรมชาติมอบให้กับมวลมนุษยชาติ คนไทยไม่เพียงแต่ใช้สมุนไพรเป็นยารักษาโรคเท่านั้น แต่นำมาดัดแปลงเพื่อบริโภคในรูปของอาหารและเครื่องดื่ม สมุนไพรบำรุงสุขภาพ ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยนั้นมีรากฐานมานานนับร้อยนับพันปี อารยธรรมต่างๆ ที่ถือเป็นเอกลักษณ์ในการแสดงถึงเผ่าพันธุ์และความเป็นผู้เจริญแล้ว สิ่งหนึ่งที่แสดงออกมาได้เป็นอย่างดีคือ ศิลปะที่ผสมผสานและผูกพันอยู่ในการใช้ชีวิตประจำวันของคนไทย ศิลปะเหล่านี้  รวมไปถึงการกินด้วย เช่น การตั้งสำรับและการประกอบจัดอาหาร ก็ไม่เพียงเพื่อความอร่อยลิ้นอย่างวิเศษเพียงประการเดียว ยังมีความสวยงามในการจัดแต่งเป็นองค์ประกอบของอาหารให้งามตายิ่งขึ้นไปอีก จึงไม่น่าแปลก    ที่อาหารและเครื่องดื่มของไทยจะแฝงไว้ด้วยเจตนารมณ์ให้ผู้บริโภคได้ซึมซับทั้งรสชาติและคุณประโยชน์ไปพร้อมกัน การแปรรูปสมุนไพรของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก เน้นสมุนไพรที่หาได้ง่ายในชุมชนและใน  จังหวัดยะลา เนื่องจากจะได้ไม่เกิดความยากลำบากในการจัดหาและจัดทำ รวมถึงปลูกไว้ใช้เองในครัวเรือนควบคู่กับการทำพืชสวน ชนิดอื่นๆการส่งเสริมให้เกษตรกรรู้จักสมุนไพร และคุณประโยชน์ของสมุนไพรใกล้ตัวที่มีคุณค่ามากกว่าการใช้บริโภคเพียงอย่างเดียวจึงเกิดขึ้นการส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนชนด้วยการพึ่งตนเองจึงเน้นการดูแลรักษาสุขภาพในเบื้องต้น ก่อนโรคภัยไข้เจ็บจะมาถึงด้วยสมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชนรวมถึงการแปรรูปสมุนไพรในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เกษตรกร และกลุ่มแม่บ้านมีรายได้เสริมนอกภาคการเกษตรใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชนลดรายจ่ายในครัวเรือนและยังช่วยส่งเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ความสามัคคีของชุมชนอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ทักษะและทราบประโยชน์จากการนวด ประคบ อบสมุนไพร
  2. 2 เพื่อให้มีสวนสมุนไพรเพื่อการศึกษาแก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ
  3. 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายถ่ายทอดความรู้และทักษะที่ได้ ให้กับชุมชน เพื่อมีส่วนร่วมในกิจกรรมและส่งเสริม ให้ได้รับการดูแลด้วยแพทย์ทางเลือก
  4. 4 เพื่อจัดบริการการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยเชิงรุกและให้ประชาชนนำมาใช้เป็นทางเลือกในการดูแล สุขภาพตนเองมากยิ่งขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมจัดสวนสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้

วันที่ 27 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

.

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.จัดทำโครงการพัฒนาบริการด้านการแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลาซึ่งได้รับการอนุมัติจากเทศบาลเมืองสะเตงนอก 2.จัดอบรมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการนวด อบ ประคบสมุนไพรและประโยชน์ของการนวด อบ ประคบสมุนไพร จะได้นำมาปฏิบัติเพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของตนเองและคนในครอบครัวได้พร้อมทั้งให้ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติร่วมกัน ซึ่งรุ่นแรกจัดในวันที่ 27 มิถุนายน 2562 และรุ่นที่2 ในวันที่ 28 มิถุนายน 2562 3.สอนการทำลูกประคบสมุนไพร โดยเบื้องต้นจะสอนเกี่ยวกับสมุนไพรที่สามารถนำมาทำลูกประคบสมุนไพร สรรพคุณของสมุนไพรตัวนั้นๆและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพรพร้อมสาธิตวิธีการทำลูกประคบสมุนไพรด้วย ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้ความสนใจและเข้าร่วมจากกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดไว้ คิดเป็นร้อยละ 100 4.ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เบื้องต้นการนวด อบ ประคบสมุนไพร และประโยชน์ของการนวด อบ ประคบสมุนไพร สามารถนำมาปฏิบัติเพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยของตนเอง และคนในครอบครัวได้ และเรียนรู้เรื่องสมุนไพรใกล้ตัวที่สามารถนำมาใช้เป็นยารักษาอาการเจ็บป่วยเล็กๆน้อยๆได้ รวมถึงได้ฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบสมุนไพรและนำไปใช้ในครอบครัวของตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ทักษะและทราบประโยชน์จากการนวด ประคบ อบสมุนไพร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2 เพื่อให้มีสวนสมุนไพรเพื่อการศึกษาแก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายถ่ายทอดความรู้และทักษะที่ได้ ให้กับชุมชน เพื่อมีส่วนร่วมในกิจกรรมและส่งเสริม ให้ได้รับการดูแลด้วยแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 4 เพื่อจัดบริการการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยเชิงรุกและให้ประชาชนนำมาใช้เป็นทางเลือกในการดูแล สุขภาพตนเองมากยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ทักษะและทราบประโยชน์จากการนวด ประคบ อบสมุนไพร (2) 2 เพื่อให้มีสวนสมุนไพรเพื่อการศึกษาแก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ (3) 3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายถ่ายทอดความรู้และทักษะที่ได้ ให้กับชุมชน เพื่อมีส่วนร่วมในกิจกรรมและส่งเสริม ให้ได้รับการดูแลด้วยแพทย์ทางเลือก (4) 4 เพื่อจัดบริการการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยเชิงรุกและให้ประชาชนนำมาใช้เป็นทางเลือกในการดูแล สุขภาพตนเองมากยิ่งขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมจัดสวนสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาบริการด้านแพทย์แผนไทยในสถานบริการและในชุมชน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด