โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี (2) 2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก (3) 3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย พบอัตราการเกิดโรคสูงในช่วงอายุ 30 - 50 ปี โดยทุกๆ 2 นาทีจะมีผู้หญิงเสียชีวิต 1 คน มีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จาก 7 คนต่อวัน เป็น 14 คนต่อวัน โดยโรคมะเร็งเต้านม มีสาเหตุโดยตรงจากปัจจัยทางพันธุกรรม ส่วนมะเร็งปากมดลูกพบว่า ประมาณ 70% ของผู้ป่วยโรคนี้ มีสาเหตุมาจากการอักเสบเรื้อรังของปากมดลูกจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี การป้องกันโรคมะเร็งเต้านมโดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองหรือการตรวจเอ็กซเรย์ Mammogram ปีละ 1 ครั้งในกลุ่มเสี่ยง และการป้องกันมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ซึ่งมีการคัดกรอง 2 วิธี คือ 1) Pap smear เป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุด เพราะใช้เวลา 2 - 5 นาที และรู้ผลภายใน 2 – 4 สัปดาห์ 2) VIA เป็นวิธีที่ง่าย ค่าใช้จ่ายต่ำ รู้ผลทันที ซึ่งปัญหาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นหากสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าวพร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก ก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง สำหรับในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สะเตงนอก พบว่าปี 2561 มีผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม จำนวน 15 ราย และผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก จำนวน 10 ราย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่กลุ่มสตรีดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก โดยการค้นหาผู้ป่วยเพื่อให้การรักษา และส่งต่อได้อย่างทันท่วงที และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ประชาชนมีสุขภาพดี ส่งผลต่อการมีสุขภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี
- 2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
- 3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่องเป็น ประจำต่อเนื่อง
- พบผู้ป่วยรายใหม่ของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นที่สามารถรักษาให้หายขาดได้
- ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีความตระหนักในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
- ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ
.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลสะเตงนอก ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกให้ครอบคลุมมากที่สุด ระยะการดำเนินโครงการตั้งแต่มิถุนายน 2562 ถึงกันยายน 2562 โดยได้ดำเนินการเริ่มแรกด้วยการประชาสัมพันธ์ แก่ผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลสะเตงนอก และได้ทำการประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประชาสัมพันธ์ และค้นหากลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง จากนั้นได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในสถานบริการทุกวันจันทร์และวันศุกร์ แจ้งผบการตรวจให้ทราบทุกราย พร้อมให้สุขศึกษา ทั้งนี้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นและสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่นต่อไป
จากการดำเนินโครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มีความรู้ในระดับดี โดยเฉพาะความรู้เกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติของสตรีที่แต่่งงานแล้วเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วนตนเอง และประโยชน์ของการตรวจมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งเต้านม ทั้งนี้เพราะผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่ ร้อยละ 100 เคยได้รับข่าวสารเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกการตรวจมะเร็งเต้านมผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ต่างๆ และบุคคลใกล้ชิด ทำให้มีความรู้ในเรื่องดังกล่าวถูกต้อง แต่สำหรับความรู้เกี่ยวกับการเตรียมตัวก่อนไปรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก และระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจพบว่าผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ในส่วนนี้ เนื่องจากความรู้เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวมักไม่ค่อยนำเสนอผ่านสื่อต่างๆ จะทราบได้จากเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นส่วนใหญ่ ทำให้กลุ่มตัวอย่างยังมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องเกี่ยงกับเรื่องดังกล่าว
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00
2
2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด :
0.00
3
3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี (2) 2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก (3) 3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสปีเนาะ กะโด
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี (2) 2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก (3) 3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดของสตรีไทย พบอัตราการเกิดโรคสูงในช่วงอายุ 30 - 50 ปี โดยทุกๆ 2 นาทีจะมีผู้หญิงเสียชีวิต 1 คน มีอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จาก 7 คนต่อวัน เป็น 14 คนต่อวัน โดยโรคมะเร็งเต้านม มีสาเหตุโดยตรงจากปัจจัยทางพันธุกรรม ส่วนมะเร็งปากมดลูกพบว่า ประมาณ 70% ของผู้ป่วยโรคนี้ มีสาเหตุมาจากการอักเสบเรื้อรังของปากมดลูกจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี การป้องกันโรคมะเร็งเต้านมโดยการตรวจเต้านมด้วยตนเองหรือการตรวจเอ็กซเรย์ Mammogram ปีละ 1 ครั้งในกลุ่มเสี่ยง และการป้องกันมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 - 60 ปี ซึ่งมีการคัดกรอง 2 วิธี คือ 1) Pap smear เป็นวิธีที่ใช้กันมากที่สุด เพราะใช้เวลา 2 - 5 นาที และรู้ผลภายใน 2 – 4 สัปดาห์ 2) VIA เป็นวิธีที่ง่าย ค่าใช้จ่ายต่ำ รู้ผลทันที ซึ่งปัญหาโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและทางด้านเศรษฐกิจเป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นหากสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับโรคดังกล่าวพร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก ก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง สำหรับในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สะเตงนอก พบว่าปี 2561 มีผู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านม จำนวน 15 ราย และผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก จำนวน 10 ราย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่กลุ่มสตรีดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก โดยการค้นหาผู้ป่วยเพื่อให้การรักษา และส่งต่อได้อย่างทันท่วงที และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ประชาชนมีสุขภาพดี ส่งผลต่อการมีสุขภาพชีวิตที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี
- 2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
- 3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- สตรีกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้องและต่อเนื่องเป็น ประจำต่อเนื่อง
- พบผู้ป่วยรายใหม่ของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นที่สามารถรักษาให้หายขาดได้
- ครอบครัว ชุมชน และสังคม มีความตระหนักในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้น
- ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีสุขภาพที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม |
||
วันที่ 24 มิถุนายน 2562กิจกรรมที่ทำ. ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลสะเตงนอก ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกให้ครอบคลุมมากที่สุด ระยะการดำเนินโครงการตั้งแต่มิถุนายน 2562 ถึงกันยายน 2562 โดยได้ดำเนินการเริ่มแรกด้วยการประชาสัมพันธ์ แก่ผู้ใช้บริการในโรงพยาบาลส่งเสิรมสุขภาพตำบลสะเตงนอก และได้ทำการประชุมชี้แจงโครงการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประชาสัมพันธ์ และค้นหากลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง จากนั้นได้ทำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในสถานบริการทุกวันจันทร์และวันศุกร์ แจ้งผบการตรวจให้ทราบทุกราย พร้อมให้สุขศึกษา ทั้งนี้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกมากขึ้นและสามารถถ่ายทอดความรู้แก่ผู้อื่นต่อไป จากการดำเนินโครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่มีความรู้ในระดับดี โดยเฉพาะความรู้เกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติของสตรีที่แต่่งงานแล้วเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วนตนเอง และประโยชน์ของการตรวจมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งเต้านม ทั้งนี้เพราะผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่ ร้อยละ 100 เคยได้รับข่าวสารเกี่ยวกับมะเร็งปากมดลูกการตรวจมะเร็งเต้านมผ่านสื่อต่างๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ต่างๆ และบุคคลใกล้ชิด ทำให้มีความรู้ในเรื่องดังกล่าวถูกต้อง แต่สำหรับความรู้เกี่ยวกับการเตรียมตัวก่อนไปรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูก และระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจพบว่าผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ในส่วนนี้ เนื่องจากความรู้เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวมักไม่ค่อยนำเสนอผ่านสื่อต่างๆ จะทราบได้จากเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการตรวจมะเร็งปากมดลูกเป็นส่วนใหญ่ ทำให้กลุ่มตัวอย่างยังมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องเกี่ยงกับเรื่องดังกล่าว
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | 3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกระตุ้นเตือนให้ความรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง อาการของโรคให้กับกลุ่มสตรีที่มีอายุ 30 -70 ปี (2) 2 เพื่อให้กลุ่มสตรีมีความรู้เกิดความตระหนัก สามารถค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก (3) 3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยง ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม อย่างครอบคลุมและกลุ่มที่ผิดปกติ ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองเต้านม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสปีเนาะ กะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......