กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจเลือดหาสารพิษตกค้างในประชาชน ผู้ผลิตและผู้บริโภค (กลุ่มเสี่ยง) ปี 2562
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯบ้านควนปอม
วันที่อนุมัติ 20 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 14,950.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายบุญเสริม ทองช่วย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกทราย อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.229,100.229place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 980 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สารเคมีกำจัดศัตรูพืช สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่าเราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากการเจ็บป่วยที่เกิดจากโรคการใช้สารเคมี 2. เพื่อให้เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง รู้ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใด 3. เพื่อให้เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลตนเองได้
  1. เพื่อลดอัตราการป่วยจากการเจ็บป่วยที่เกิดจากโรคการใช้สารเคมี (แผลพุพอง แผลเรื้อรัง)
  2. เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง รู้ว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับ (ปกติ ปลอดภัย เสี่ยงและไม่ปลอดภัย)
  3. เกษตรกร/กลุ่มเสี่ยง รู้ว่าปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับ เสี่ยง และไม่ปลอดภัย มีความรู้สามารถดูแลตนเองให้ปลอดภัยได้
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงจากการใช้ยาฆ่าแมลง
  2. กลุ่มเสี่ยงได้มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการประกอบอาชีพ การบริโภคอาหาร เกี่ยวกับการใช้ยาฆ่าแมลง
  3. กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อกรณีที่มีปัญหาสุขภาพจากการใช้ยาฆ่าแมลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ก.พ. 2562 09:21 น.