สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางแมะเนาะ สือรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง
ชื่อโครงการ สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และพัฒนาการด้านสติปัญญา จิตใจ การสร้างเสริมสุขภาวะในวัยนี้เป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องให้เด็กได้เรียนรู้ นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียนในแต่ละวิชาต่างๆ ที่กำหนดเป็นหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการแล้ว จำเป็นต้องให้เด็กได้เรียนรู้การดูแลสุขภาพของตนเองโดยเฉพาะช่วงปิดภาคเรียนในระหว่างเดือน มีนาคม – พฤษภาคม ของทุกปี เป็นช่วงที่สภาพภูมิอากาศร้อน ความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพต่างๆเพิ่มขึ้นจากเดิม เนื่องจากเด็กๆใช้ชีวิตส่วนใหญ่เล่นนอกบ้าน ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลเพราะต้องออกไปทำงาน ปล่อยให้เด็กใช้ชีวิตลำพังที่บ้าน ดังนั้นทางชมรมตาดีกาตำบลตุยงซึ่งปกติจะรับดูแลสอนเด็กในวันเสาร์ อาทิตย์ มองเห็นว่าเรื่องสุขภาพ ปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง การดูแลความสะอาดของร่างกาย การป้องกันตนเองจากการเกิดโรคติดต่อ หลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดให้โทษ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างให้กับคนในครอบครัวและชุมชน ในโอกาสต่อไปได้
ทางชมรมตาดีกาได้เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ กิจกรรม เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพ
ขึ้นมาภายใต้โครงการสร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียน ปี 2560
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่
- ๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง
- ๓. เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
- ๔. เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
350
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กวัยเรียนมีความรู้และทัศนคติที่ดีหันมาดูแลสุขภาพมากขึ้น
- เด็กวัยเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยที่ดีขึ้น
- สามารถป้องกันโรคภัยไข้เจ็บที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กและประชาชนทั่วไปได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุป จากการดำเนินงานโครงการ ตามวัตถุประสงค์โครงการดังนี้
1.1 เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่
1.2 เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง
1.3 เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
1.4 เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการจึงได้ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานดังนี้
- ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน จำนวน 350 คน โดยแบ่งการอบรมเป็น 7 ครั้งๆละ 2 วัน เพื่อให้ครอบคลุมจำนวนศูนย์ตาดีกาในพื้นที่ โดยทำการอบรมในช่วงที่โรงเรียนรัฐบาลปิดภาคการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพ เพื่อป้องกันโรค อาการ การรักษา และการแกไขปัญหาฉุกเฉิน ดังนี้
๑.๑ สุขบัญญัติ ๑๐ ประการ
๑.๒ โรคติดต่อประจำถิ่น
๑.๓ การส่งเสริมการบริโภค อย.น้อย
๑.๔ การป้องกันยาเสพติด
๑.5 ฐานการป้องกันโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ
1.6 หลัก 3 อ. 2 ส.
ตารางการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนจำนวน 7 แห่งดังนี้
ลำดับ วัน เดือน ปี ที่จัดอบรม สถานที่ หมายเหตุ
1
2
3
4
5
6
7 4 – 5 เมษายน 2560
6 – 7 เมษายน 2560
8 – 9 เมษายน 2560
10 – 11 เมษายน 2560
12 – 13 เมษายน 2560
14 – 15 เมษายน 2560
16 – 17 เมษายน 2560 ศูนย์ตาดีกาบ้านคลองรี
ศูนย์ตาดีกาบ้านบากง
ศูนย์ตาดีกาบ้านดาริง
ศูนย์ตาดีกาบ้านปะกาลือสง
ศูนย์ตาดีกาบ้านตากอง
ศูนย์ตาดีกาบ้านกือแด
ศูนย์ตาดีกาบ้านโคกม่วง
จากการอบรมนักเรียนหรือกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว พบว่านักเรียนมีความกระตือรือร้นสนใจเรื่องสุขภาพเป็นอย่างดี นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมคิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน นำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........375.............................................. คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...............81,200........... บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...............81,200........... บาท คิดเป็นร้อยละ ......100..........
งบประมาณเหลือส่งคืนอบต. ...........................0........... บาท คิดเป็นร้อยละ .............0.........
ตามรายละเอียดดังนี้
- ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 7 ครั้งๆละ 2 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม วิทยากร ทีมงานจัดโครงการ
จำนวน 375 คน x 4 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 37,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม วิทยากร ทีมงานจัดโครงการ
จำนวน 375 คน x 2 มื้อ x 40 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
- ค่าอุปกรณ์ในการฝึกอบรม เช่น ชุดเครื่องเขียน(ปากกา,สมุด)
จำนวน 350 คน x 25 บาท เป็นเงิน 8,750 บาท
- ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 81,200 บาท
- ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน
• ไม่มี
/• มี
ปัญหา/อุปสรรค
- ความไม่ตรงต่อเวลาของกลุ่มเป้าหมาย มาช้า
- ผู้ปกครองเด็กไม่อยู่บ้าน
- ขาดแคลนบุคลากร หรือทีมงาน คนที่จะมาช่วยงานตรงนี้ต้องมีภาวะ ที่มีจิตอาสาสูง
แนวทางการแก้ไข
- หมู่บ้านหรือชุมชนจะเกิดความเข้มแข็งได้ก็ต่อเมื่อมีผู้นำที่มีจิตอาสา จิตสาธารณะ มีความสามัคคีเป็นหนึ่ง ระหว่างผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ชมรมเป็นตัวผลักดันที่สำคัญเพื่อให้ผู้นำฝ่ายต่างๆในหมู่บ้านเกิดการขับเคลื่อน
- ต้องดึงเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วม เช่น อสม. แกนนำเยาวชน เป็นต้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน
2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
2
๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน
2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
3
๓. เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน
2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
4
๔. เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน
2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
350
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
350
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่ (2) ๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง (3) ๓. เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย (4) ๔. เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางแมะเนาะ สือรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 ”
ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางแมะเนาะ สือรี
ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง
กิตติกรรมประกาศ
"สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3065-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 81,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม และพัฒนาการด้านสติปัญญา จิตใจ การสร้างเสริมสุขภาวะในวัยนี้เป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องให้เด็กได้เรียนรู้ นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียนในแต่ละวิชาต่างๆ ที่กำหนดเป็นหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการแล้ว จำเป็นต้องให้เด็กได้เรียนรู้การดูแลสุขภาพของตนเองโดยเฉพาะช่วงปิดภาคเรียนในระหว่างเดือน มีนาคม – พฤษภาคม ของทุกปี เป็นช่วงที่สภาพภูมิอากาศร้อน ความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพต่างๆเพิ่มขึ้นจากเดิม เนื่องจากเด็กๆใช้ชีวิตส่วนใหญ่เล่นนอกบ้าน ผู้ปกครองไม่มีเวลาดูแลเพราะต้องออกไปทำงาน ปล่อยให้เด็กใช้ชีวิตลำพังที่บ้าน ดังนั้นทางชมรมตาดีกาตำบลตุยงซึ่งปกติจะรับดูแลสอนเด็กในวันเสาร์ อาทิตย์ มองเห็นว่าเรื่องสุขภาพ ปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง การดูแลความสะอาดของร่างกาย การป้องกันตนเองจากการเกิดโรคติดต่อ หลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดให้โทษ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างให้กับคนในครอบครัวและชุมชน ในโอกาสต่อไปได้
ทางชมรมตาดีกาได้เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ กิจกรรม เพื่อพัฒนาด้านสุขภาพ
ขึ้นมาภายใต้โครงการสร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียน ปี 2560
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่
- ๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง
- ๓. เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
- ๔. เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 350 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กวัยเรียนมีความรู้และทัศนคติที่ดีหันมาดูแลสุขภาพมากขึ้น
- เด็กวัยเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงปราศจากโรคภัยที่ดีขึ้น
- สามารถป้องกันโรคภัยไข้เจ็บที่อาจเกิดขึ้นกับเด็กและประชาชนทั่วไปได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุป จากการดำเนินงานโครงการ ตามวัตถุประสงค์โครงการดังนี้
1.1 เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่
1.2 เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง
1.3 เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
1.4 เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการจึงได้ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานดังนี้
- ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน จำนวน 350 คน โดยแบ่งการอบรมเป็น 7 ครั้งๆละ 2 วัน เพื่อให้ครอบคลุมจำนวนศูนย์ตาดีกาในพื้นที่ โดยทำการอบรมในช่วงที่โรงเรียนรัฐบาลปิดภาคการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพ เพื่อป้องกันโรค อาการ การรักษา และการแกไขปัญหาฉุกเฉิน ดังนี้
๑.๑ สุขบัญญัติ ๑๐ ประการ
๑.๒ โรคติดต่อประจำถิ่น
๑.๓ การส่งเสริมการบริโภค อย.น้อย
๑.๔ การป้องกันยาเสพติด
๑.5 ฐานการป้องกันโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ
1.6 หลัก 3 อ. 2 ส.
ตารางการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนจำนวน 7 แห่งดังนี้
ลำดับ วัน เดือน ปี ที่จัดอบรม สถานที่ หมายเหตุ
1
2
3
4
5
6
7 4 – 5 เมษายน 2560
6 – 7 เมษายน 2560
8 – 9 เมษายน 2560
10 – 11 เมษายน 2560
12 – 13 เมษายน 2560
14 – 15 เมษายน 2560
16 – 17 เมษายน 2560 ศูนย์ตาดีกาบ้านคลองรี
ศูนย์ตาดีกาบ้านบากง
ศูนย์ตาดีกาบ้านดาริง
ศูนย์ตาดีกาบ้านปะกาลือสง
ศูนย์ตาดีกาบ้านตากอง
ศูนย์ตาดีกาบ้านกือแด
ศูนย์ตาดีกาบ้านโคกม่วง
จากการอบรมนักเรียนหรือกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว พบว่านักเรียนมีความกระตือรือร้นสนใจเรื่องสุขภาพเป็นอย่างดี นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นจากเดิมคิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน นำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้แก่สมาชิกในครอบครัวได้
- ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์
/• บรรลุตามวัตถุประสงค์
• ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ...............................................................................................................
........................................................................................................................................................................................
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........375.............................................. คน
- การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...............81,200........... บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...............81,200........... บาท คิดเป็นร้อยละ ......100..........
งบประมาณเหลือส่งคืนอบต. ...........................0........... บาท คิดเป็นร้อยละ .............0.........
ตามรายละเอียดดังนี้ - ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 7 ครั้งๆละ 2 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม วิทยากร ทีมงานจัดโครงการ
จำนวน 375 คน x 4 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 37,500 บาท
- ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม วิทยากร ทีมงานจัดโครงการ
จำนวน 375 คน x 2 มื้อ x 40 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
- ค่าอุปกรณ์ในการฝึกอบรม เช่น ชุดเครื่องเขียน(ปากกา,สมุด)
จำนวน 350 คน x 25 บาท เป็นเงิน 8,750 บาท
- ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 750 บาท
รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 81,200 บาท - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี /• มี ปัญหา/อุปสรรค
- ความไม่ตรงต่อเวลาของกลุ่มเป้าหมาย มาช้า
- ผู้ปกครองเด็กไม่อยู่บ้าน
- ขาดแคลนบุคลากร หรือทีมงาน คนที่จะมาช่วยงานตรงนี้ต้องมีภาวะ ที่มีจิตอาสาสูง
แนวทางการแก้ไข
- หมู่บ้านหรือชุมชนจะเกิดความเข้มแข็งได้ก็ต่อเมื่อมีผู้นำที่มีจิตอาสา จิตสาธารณะ มีความสามัคคีเป็นหนึ่ง ระหว่างผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ชมรมเป็นตัวผลักดันที่สำคัญเพื่อให้ผู้นำฝ่ายต่างๆในหมู่บ้านเกิดการขับเคลื่อน
- ต้องดึงเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วม เช่น อสม. แกนนำเยาวชน เป็นต้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที |
|
|||
2 | ๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที |
|
|||
3 | ๓. เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที |
|
|||
4 | ๔. เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของเด็กอายุ 6 - 15 ปีเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. ร้อยละ 100 ของคนอายุ 6 ปี ขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วันๆละ 30 นาที |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 350 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 350 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัยของเด็กวัยเรียนในพื้นที่ (2) ๒. เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีความรู้ในการประเมิน ค้นหาความเสี่ยงและปัญหาสุขภาพที่สำคัญของตนเอง (3) ๓. เพื่อให้เด็กวัยเรียนรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย (4) ๔. เพื่อให้เด็กวัยเรียนได้รับรู้ข่าวสารด้านสุขภาพก้าวทันโรคและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
สร้างเสริมสุขภาวะและลดความเสี่ยงปัญหาสุขภาพในเด็กวัยเรียนปี 2560 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3065-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางแมะเนาะ สือรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......