กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน


“ โครงการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร ”

ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรัตนา สุขขี

ชื่อโครงการ โครงการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L-1528-02-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L-1528-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กลยุทธ์ด้านผู้เรียนของโรงเรียนบ้านควนตัง พัฒนาผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี สอดคล้องกับสาระที่ 4 ของกลุ่มสาระการ เรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรคใน โดยมีมาตรฐาน 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดำรงสุขภาพ การป้องกันโรค ประกอบกับในปัจจุบันอาหารมีความหลากหลายและเข้าถึงเด็กได้ง่าย มีความเสี่ยงสูงที่จะได้รับสารพิษตกค้างที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคนไทยและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพการสร้างเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยั่งยืน สามารถพัฒนาที่นักเรียน

จากการดำเนินโครงการนี้ ในปีงบประมาณ 2561 นักเรียนได้รับความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพอนามัย การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร ในระดับมาก ร้อยละ 93.03 และเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพที่ดีแก่นักเรียน และพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขนิสัยที่ดีอย่างต่อเนื่อง และสามารถฝึกฝนตนเอง จนสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ โรงเรียนจำเป็นต้องจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน ให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้าน ตลอดจนการดูแลตนเองในเรื่องการเลือกซื้ออาหาร ให้ปลอดภัยจากสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ จึงมีความจำเป็นที่โรงเรียนจะต้องจัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน และมีสุขภาพที่ดี
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการเลือกซื้ออาหารสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  3. เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและการเลือกบริโภค
  4. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดอบรมนักเรียน ป.1 - ป.6 เรื่อง อาหารที่ควรรับประทาน สารปนเปื้อนในอาหารและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย 2.กิจกรรมรณรงค์การรับประทานอาหาร 5 หมู่และการใช้ยาสามัญประจำบ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีภูมิคุ้มกันโรค
  2. นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการเลือกซื้ออาหารสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
  3. นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและการเลือกบริโภค
  4. นักเรียนใช้ยาสามัญประจำบ้านในชีวิตประจำวันได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดอบรมนักเรียน ป.1 - ป.6 เรื่อง อาหารที่ควรรับประทาน สารปนเปื้อนในอาหารและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย 2.กิจกรรมรณรงค์การรับประทานอาหาร 5 หมู่และการใช้ยาสามัญประจำบ้าน

วันที่ 31 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวลา 08.30 น.-08.50 น. พิธีเปิด เวลา 08.50 น.-09.00 น. ทดสอบก่อนอบรม เวลา 09.00 น.-10.00 น. เรียนรู้เรื่องสารอาหารที่จำเป็นต่อสุขภาพ เวลา 10.00 น.-10.10 น. รับประทานอาหารว่าง เวลา 10.10 น.-12.00 น. เรียนรู้เรื่องสารปนเปื้อนในอาหาร/การทดสอบสารปนเปื้อน เวลา 12.00 น.-12.45 น. รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 12.45 น.- 14.40 น. เรียนรู้เรื่องอาหารมีคุณค่า/การเลือกซื้ออาหาร เวลา 14.40 น.-14.50 น. รับประทานอาหารว่าง เวลา 14.50 น.-16.20 น. เรียนรู้เรื่องยาสามัญประจำบ้าน เวลา 16.20 น.-16.30 น. ทดสอบหลังอบรม เวลา 16.30 น.-16.40 น. พิธีปิด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินโครงการนักเรียนได้รับความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพอนามัย การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร และเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพที่ดีแก่นักเรียนและพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขนิสัยที่ดีอย่างต่อเนื่อง และสามารถฝึกฝนตนเองจนสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ จากการทำกิจกรรมโครงการดังกล่าว พบว่าประสบความสำเร็จอย่างดี ได้สรุปไว้ดังนี้ 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปิดโครงการ 2.วิทยากรให้ความรู้และทำกิจกรรมเหมาะสมกับโครงการและวัยของนักเรียน 3.ร้อยละ 95 ของนักเรียน มีความรู้เรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการนักเรียนได้รับความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพอนามัย การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร และเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพที่ดีแก่นักเรียนและพัฒนาผู้เรียนให้มีสุขนิสัยที่ดีอย่างต่อเนื่อง และสามารถฝึกฝนตนเองจนสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ จากการทำกิจกรรมโครงการดังกล่าว พบว่าประสบความสำเร็จอย่างดี ได้สรุปไว้ดังนี้ 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปิดโครงการ 2.วิทยากรให้ความรู้และทำกิจกรรมเหมาะสมกับโครงการและวัยของนักเรียน 3.ร้อยละ 95 ของนักเรียน มีความรู้เรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน และมีสุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : นักเรียน ป.1 – ป.6 ร้อยละ 90 มีสุขภาพอนามัยที่ดี
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการเลือกซื้ออาหารสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : นักเรียน ป.1 – ป.6 ร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจในการเลือกซื้ออาหาร
0.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและการเลือกบริโภค
ตัวชี้วัด : นักเรียน ป.1 – ป.6 ร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจการเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
0.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้าน
ตัวชี้วัด : นักเรียน ป.1 – ป.6 ร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 83
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90 83
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพอนามัยนักเรียน และมีสุขภาพที่ดี (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการเลือกซื้ออาหารสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหารและการเลือกบริโภค (4) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ในเรื่องการใช้ยาสามัญประจำบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมนักเรียน ป.1 - ป.6  เรื่อง อาหารที่ควรรับประทาน  สารปนเปื้อนในอาหารและการใช้ยาสามัญประจำบ้านให้ปลอดภัย 2.กิจกรรมรณรงค์การรับประทานอาหาร  5 หมู่และการใช้ยาสามัญประจำบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเรียนรู้เรื่องสุขภาพ การใช้ยาสามัญประจำบ้านและสารปนเปื้อนในอาหาร จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L-1528-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรัตนา สุขขี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด