กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการ ปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงสู่ปกติได้ด้วยมือเรา ”

หมู่ที่ 4 , 5 และหมู่ที่ 7 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางดารณี จันทร์อ่อน

ชื่อโครงการ โครงการ ปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงสู่ปกติได้ด้วยมือเรา

ที่อยู่ หมู่ที่ 4 , 5 และหมู่ที่ 7 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงสู่ปกติได้ด้วยมือเรา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 , 5 และหมู่ที่ 7 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงสู่ปกติได้ด้วยมือเรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงสู่ปกติได้ด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 , 5 และหมู่ที่ 7 ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพของประชาชนพบว่ามีความซับซ้อนมากขึ้น ตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัฒน์ จากความเร่งรีบและแข่งขันในชีวิตประจำวันทำให้คนลืมนึกถึงและใส่ใจกับเรื่องสุขภาพจะเห็นได้ว่าพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย และพฤติกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวโยงกับสุขภาพทำให้คนส่วนใหญ่ละเลย ไม่ใสใจจนทำให้เกิดปัญหาสุขภาพตามมาอย่างเห็นได้ชัด หลายคนที่เป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความเชื่อมโยงด้านพฤติกรรม แต่พบว่าสาเหตุการเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรมล้วนๆ และที่สำคัญไม่เฉพาะที่สูงอายุเท่านั้นที่เป็นกลุ่มเสียงโรคเรื้อรังได้ หากแต่ปัจจุบันแนวโน้มของกลุ่มเสี่ยงในคนไทย อายุแทบไม่เป็นปัจจัยของผู้มีความเสี่ยงจะเป็นผู้ป่วยโรคเรื้อรังในอนาคตเท่านั้น โดยจะเห็นได้จากการพบผู้ป่วยโรคอ้วนและเบาหวานที่เด็กที่มีแนวโน้มที่สูงขึ้นทุกปี ดังนั้น ประชากรทุกกลุ่มจึงเป็นเป้าหมายในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง   จากสถิติผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ พบผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี และพบในอายุที่น้อยลง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นทุกปี และจากการ
คัดกรอง ผู้มีภาวะเสี่ยงในปลายปี 2561 พบประชากรกลุ่มเสี่ยงมีค่าดัชนีมวลกายเกินในทุกกลุ่ม ทั้งในกลุ่มอาสามสมัครสาธารณสุข และกลุ่มประชากรทั่วไป   จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ ได้เล็งเห็นถึงแนวโน้มที่จะมีผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่เพิ่มขึ้นอีก ถ้าหากไม่มีการแก้ปัญหาจากต้นตอที่แท้จริง จึงเกิดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมขึ้นในประชาชนกลุ่มเสี่ยงทุกกลุ่มอายุเพื่อเตรียมความพร้อมในการรู้จักการหลีกเลี้ยงพฤติกรรมที่ผิดๆ ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในอนาคต ให้มีความรู้ความสามารถดูแลตนเองและคนในครอบครัว เกิดพฤติกรรมที่ดีและสามารถลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรังเพิ่มได้ในระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส 2.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถลดระดับน้ำตาลต่ำกว่า 100% 3.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สามารถลดระดับความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmhg 4.กลุ่มเสี่ยงมีการปลูกผักรับประทานเองมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง
  3. อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย
  4. อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 121
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรรมมีผลตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ ระดับความดันโลหิตที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.กลุ่มผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถควบคุมโรคได้และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน 3.เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิตที่ รพ.สต. เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.กลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถควบคุมโรคได้และลดอัตตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน 3.เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน

 

100 0

2. อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง 2.อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย 3.จัดให้มีการสาธิตการปลูกผักโดยใช้ถุงแสนดีเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิตที่ รพ.สต. เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.กลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถควบคุมโรคได้และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน 3.เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน

 

21 0

3. อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิตที่ รพ.สต. เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.กลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถควบคุมโรคได้และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน 3.เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน

 

100 0

4. อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง

วันที่ 26 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง 2.อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย 3.จัดให้มีการสาธิตการปลูกผักโดยใช้ถุงแสนดีเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีผลตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิตที่ รพ.สต. เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2.กลุ่มป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนสามารถควบคุมโรคได้และลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน 3.เกิดนวัตกรรมสุขภาพในชุมชน

 

21 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส 2.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถลดระดับน้ำตาลต่ำกว่า 100% 3.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สามารถลดระดับความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmhg 4.กลุ่มเสี่ยงมีการปลูกผักรับประทานเองมากขึ้น
ตัวชี้วัด : 1.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถลดระดับน้ำตาลตำ่กว่า 100% กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สามารถลดระดับความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmhg
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 121
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 121
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.กลุ่มเสี่ยงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส
2.กลุ่มเสี่ยงเบาหวานสามารถลดระดับน้ำตาลต่ำกว่า 100%
3.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สามารถลดระดับความดันโลหิตน้อยกว่า 140/90 mmhg
4.กลุ่มเสี่ยงมีการปลูกผักรับประทานเองมากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง (3) อบรมให้ความรู้ตามหลัก 3 อ 2 ส แก่กลุ่มเป้าหมาย (4) อาสาสมัครสาธารณสุขออกติดตามกลุ่มเสี่ยงในเขตรับผิดชอบโดยการตรวจประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดพร้อมวัดระดับความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยงสู่ปกติได้ด้วยมือเรา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารณี จันทร์อ่อน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด