กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ


“ โครงการ “สภาสุขภาพ” ”

ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอดียะห์ ยูโซะ

ชื่อโครงการ โครงการ “สภาสุขภาพ”

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-l3057-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “สภาสุขภาพ” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “สภาสุขภาพ”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “สภาสุขภาพ” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-l3057-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ.” เป็นคำกล่าวที่ใครๆก็พูดกันจนคุ้นหู แต่การที่คนเราต้องประสบหรืออยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆนั้นสืบเนื่องจากความไม่รู้หนึ่ง และรู้แล้วไม่ปฏิบัติหนึ่ง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเกิดปัญหาสุขภาพทั้งที่รุนแรงและไม่รุนแรง รักษาได้ และรักษาไม่ได้ สิ่งหนึ่งที่จะช่วยให้ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคภัยไข้เจ็บให้ขาดหายไป หรือค่อยๆลดน้อยลงไปคือการให้ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยไม่ว่าจะเป็นด้านอุปโภคหรือการบริโภค ตลอดจนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปบอกเล่าให้คนใกล้เคียงได้รับรู้ และบอกต่อๆกันไป
        ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขรพ.สต.บ้านบาเลาะ จึงได้จัดทำโครงการ “สภาสุขภาพ” ขึ้นเพื่อเป็นสื่อกลางในการจัดกระบวนการการเรียนรู้เรื่องสุขภาพร่วมกันระหว่างสมาชิกที่มีอยู่ ในชุมชนและชุมชนอื่นๆโดยการรวมกลุ่มกัน พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ด้านสถานการณ์ด้านสุขภาพทั้งที่เกิดขึ้นมาแล้ว ที่กำลังเกิดขึ้น และที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้วิธีการดูแล ป้องกัน รักษา เกี่ยวกับสถานการณ์โรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้ทันท่วงที โดยผ่านสภาสุขภาพ ซึ่งจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพในเรื่องต่างๆเดือนละ 1 ครั้ง และจะมีการให้ความรู้เรื่องสุขภาพตามสถานการณ์การเกิดโรคอันจะนำสู่การมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง สุขภาพจิตแจ่มใส เพื่อการดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ในด้านความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น และการนำเสนอข้อมูล
  2. เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพในรูปแบบสภาสุขภาพให้เกิดในชุมชน
  3. เพื่อชุมชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง ครอบครัว และขยายสู่ชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ๑ .มีการจัดทำเวทีประชาคมโดยการเชิญอาสาสมัครสาธารณสุขในแต่ละหมู่บ้านที่รับผิดชอบดูแลเรื่องสุขภาพของสมาชิกในชุมชน กิจกรรมย่อย ๑.๑จัดอบรมเชิงปฎิบัติการ อสม.
  2. ๒.การเขียนโครงการ ทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นผู้ดำเนินการ กิจกรรมย่อย ๒.1จัดอบรมสัมมนาแกนนำสภาสุขภาพ
  3. ๓. การเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นผู้ดำเนินการ กิจกรรมย่อย 3.1จัดสัมมนาเกี่ยวกับสภาสุขภาพและฝึกปฏิบัติกระบวนการสภาสุขภาพโดยจัดสภาสุขภาพจำลอง
  4. ๕.ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ สภาสุขภาพคือ ทุกภาคส่วนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม
  5. ๔. การดำเนินงาน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสาธารณสุขจะมีการดำเนินงานตามแผนงานการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านแนบมาด้วยกลวิธีดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. อสม.มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพในชุมชน
      ๒. ชุมชนมีเครือข่ายสุขภาพในรูปแบบของสภาสุขภาพ
      ๓. ชุมชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชน เบื้องต้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ในด้านความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น และการนำเสนอข้อมูล
ตัวชี้วัด : อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น และการนำเสนอข้อมูล ร้อยละ80
0.00

 

2 เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพในรูปแบบสภาสุขภาพให้เกิดในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายสุขภาพในรูปแบบสภาสุขภาพให้เกิดในชุมชน ร้อยละ100
0.00

 

3 เพื่อชุมชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง ครอบครัว และขยายสู่ชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ชุมชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง ครอบครัว และขยายสู่ชุมชนได้ ร้อยละ80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. ในด้านความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น และการนำเสนอข้อมูล (2) เพื่อสร้างเครือข่ายสุขภาพในรูปแบบสภาสุขภาพให้เกิดในชุมชน (3) เพื่อชุมชนมีความรู้ด้านการดูแลสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง ครอบครัว และขยายสู่ชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ๑ .มีการจัดทำเวทีประชาคมโดยการเชิญอาสาสมัครสาธารณสุขในแต่ละหมู่บ้านที่รับผิดชอบดูแลเรื่องสุขภาพของสมาชิกในชุมชน            กิจกรรมย่อย    ๑.๑จัดอบรมเชิงปฎิบัติการ อสม. (2) ๒.การเขียนโครงการ      ทางเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นผู้ดำเนินการ            กิจกรรมย่อย    ๒.1จัดอบรมสัมมนาแกนนำสภาสุขภาพ (3) ๓. การเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นผู้ดำเนินการ        กิจกรรมย่อย    3.1จัดสัมมนาเกี่ยวกับสภาสุขภาพและฝึกปฏิบัติกระบวนการสภาสุขภาพโดยจัดสภาสุขภาพจำลอง (4) ๕.ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ สภาสุขภาพคือ ทุกภาคส่วนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม (5) ๔. การดำเนินงาน     เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสาธารณสุขจะมีการดำเนินงานตามแผนงานการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านแนบมาด้วยกลวิธีดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ “สภาสุขภาพ” จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-l3057-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอดียะห์ ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด