กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางหาสน๊ะ โต๊ะกูบาฮา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-01-62 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มิถุนายน 2562 ถึง 28 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L4137-01-62 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มิถุนายน 2562 - 28 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาอุบัติการณ์โรคฟันผุเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคฟันผุสูงในเด็กอายุ 18 เดือนขึ้นไป การส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะทำให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี การป้องกันโรคฟันผุในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ เพราะฟันน้ำนมของเด็กเริ่มสร้างและมีการสะสมแร่ธาตุเกือบสมบูรณ์ขณะอยู่ในครรภ์ การเจ็บป่วยด้วยโรคในช่องปากไม่ว่าจะเป็นโรคฟันผุและโรคปริทันต์ ถือได้ว่าเป็นปัญหาและส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของคนไทยทุกกลุ่มอายุ แม้ว่าโรคจะไม่รุนแรงถึงชีวิต แต่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจ หากเกิดในหญิงตั้งครรภ์จะส่งผลให้เกิดความรุนแรง ประกอบกับปัจจุบันมีหลักฐานที่สนับสนุนว่า การมีโรคฟันผุในช่องปากของหญิงตั้งครรภ์ มีผลต่อการเกิดภาวะคลอดก่อนกำหนดและเด็กน้ำหนักแรกเกิดน้อย มารดาที่มีฟันผุขณะตั้งครรภ์จะมีเชื้อจุลินทรีย์ในช่องปากจำนวนมาก ซึ่งเชื้อนี้สามารถถ่ายทอดสู่ลูกได้ทางน้ำลาย และหากเกิดในเด็กเล็ก ก็จะเป็นปัญหาในการดูแลรักษา เพราะว่าเด็กยังเล็ก ไม่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากตนเองให้สะอาดได้ด้วยตนเอง ต้องได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากจากมารดา ซึ่งมีการวิจัยว่าโรคฟันผุมีผลต่อการเจริญเติบโต พัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก แสดงให้เห็นถึงปัญหาที่ควรแก้ไขตั้งแต่แรกเริ่ม การเกิดโรคฟันผุมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยร่วมกันไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านอาหาร ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจและปัจจัยด้านการได้รับบริการทันตกรรม ซึ่งจากการศึกษาที่ผ่านมา พบว่า ปัจจัยที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ พฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กเล็ก เนื่องจากเด็กเล็กเป็นกลุ่มที่ต้องอาศัยการพึ่งพิงผู้อื่นโดยเฉพาะจากบิดา มารดาเป็นสำคัญ พฤติกรรมการเลี้ยงดูจะถูกส่งผ่านทัศนคติ ความรู้และทักษะต่างๆจากบิดา มารดาสู่เด็กเล็ก และปลูกฝังจนเป็นนิสัยของเด็กเล็กต่อไป จากข้อมูลการสำรวจทันตสุขภาพเด็ก ๓ ปี ปราศจากฟันผุ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ๓ ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2559 – 2๕61 พบว่ามีฟันผุ ร้อยละ 59.09, ร้อยละ57.63 และร้อยละ 53.74 ตามลำดับ       ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อนได้เล็งเห็นถึงปัญหาฟันผุเหล่านี้ เพื่อลดปัญหาการเกิดโรคฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน สร้างทัศนคติ และทักษะให้แม่สามารถดูแลช่องปากของตนเองได้ดี เพื่อส่งผลต่อทักษะการดูแลลูกต่อไปในอนาคต จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็ก 0-3 ปี และกลุ่มเมาะจิอาสา เพื่อฟันดีตำบลพร่อนมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้
  2. เพื่อใหญิงตั้งครรภ์มีความใส่ใจในการรับบริการทันตกรรมที่จำเป็นมากขึ้น
  3. เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กวัย ๐ - ๓ ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. หญิงตั้งครรภ์ และกลุ่มเมาะจิอาสา
  2. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 3 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี ร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพ ช่องเด็ก     2. กลุ่มเมาะจิอาสา เพื่อฟันดีตำบลพร่อน ร้อยละ 100 มีความรู้และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องเด็ก สามารถเผยแพร่ความรู้สุขภาพช่องปากไปยังชุมชนได้     3. หญิงตั้งครรภ์ร้อยละ 90 ได้รับบริการทันตกรรมในรายที่จำเป็น     3. เด็กอายุ 3 ปีที่มีค่าปราศจากฟันผุเพิ่มขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. หญิงตั้งครรภ์ และกลุ่มเมาะจิอาสา

วันที่ 10 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑. สำรวจข้อมูลพร้อมจัดทำทะเบียนเด็กแรกเกิดถึง ๓ ปี และทะเบียนหญิงตั้งครรภ์ 2. จัดตั้งกลุ่มเมาะจิอาสาขึ้นมา โดยคัดเลือก อสม.ที่สมัครใจที่จะเข้ากลุ่ม โดยมีจุดประสงค์เพื่อดูแล สุขภาพช่องปากเด็กวัย 0-3 ปี ในชุมชน 2. ประชาสัมพันธ์ชี้แจงการจัดโครงการให้หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี อสม. และผู้นำชุมชนทราบ เพื่อให้การดำเนินโครงการนี้โดยมีชุมชนมีส่วนร่วมด้วย 2. ทำแบบทดสอบก่อนอบรม 3.  อบรมเชิงปฏิบัติการการแปรงฟัน การเลือกบริโภคอาหารที่ห่างไกลจากฟันผุแก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-3 ปี
4. ทำแบบทดสอบหลังอบรม 5. ให้บริการตรวจสุขภาพช่องปาก สอนทักษะการแปรงฟัน การใช้ไหมขัดฟัน ในหญิงตั้งครรภ์ และให้บริการรักษาทันตกรรมในหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก 5. ให้บริการตรวจสุขภาพช่องปาก เคลือบฟลูออไรด์ในเด็ก 0-3 ปี และอุดฟันด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ให้แก่เด็กที่มีฟันผุในตำบลพร่อน 6. ออกเยี่ยมบ้านโดยทีมกลุ่มเมาะจิอาสาเพื่อฟันดีตำบลพร่อน มีบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปาก เคลือบฟลูออไรด์วานิชร่วมกับเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข แก่เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในคลินิกเด็กดีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน 8. สรุปผลการดำเนินงานสภาวะโรคฟันผุของเด็กอายุ 3 ปี ในปีงบประมาณ 2562

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ดูแลสุขภาพช่องปาก ไม่เกิดฟันพุ

 

48 0

2. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 3 ปี

วันที่ 30 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้บริการตรวจสุขภาพช่องปาก เคลือบฟลูออไรด์ในเด็ก 0-3 ปี และอุดฟันด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ให้แก่เด็กที่มีฟันผุในตำบลพร่อน ออกเยี่ยมบ้านโดยทีมกลุ่มเมาะจิอาสาเพื่อฟันดีตำบลพร่อน มีบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปาก เคลือบฟลูออไรด์วานิชร่วมกับเจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข แก่เด็กที่ไม่ได้มาตามนัดในคลินิกเด็กดีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้องกันการเกิดฟันผุได้ เช่น เด็กแรกเกิดได้รับการทำความสะอาดช่องปากหลังกินนมทุกครั้ง เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการแปรงฟันอย่างถูกวิธี และสม่ำเสมอ และมีวิธีการเลือกบริโภคอาหารที่ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็ก 0-3 ปี และกลุ่มเมาะจิอาสา เพื่อฟันดีตำบลพร่อนมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้
ตัวชี้วัด :
60.00

 

2 เพื่อใหญิงตั้งครรภ์มีความใส่ใจในการรับบริการทันตกรรมที่จำเป็นมากขึ้น
ตัวชี้วัด :
48.00

 

3 เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กวัย ๐ - ๓ ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ผู้ปกครองเด็ก 0-3 ปี และกลุ่มเมาะจิอาสา เพื่อฟันดีตำบลพร่อนมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ (2) เพื่อใหญิงตั้งครรภ์มีความใส่ใจในการรับบริการทันตกรรมที่จำเป็นมากขึ้น (3) เพื่อลดอัตราฟันผุในเด็กวัย ๐ - ๓ ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) หญิงตั้งครรภ์ และกลุ่มเมาะจิอาสา (2) ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 3 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังทันตสุขภาพมารดาสู่ลูก จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L4137-01-62

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหาสน๊ะ โต๊ะกูบาฮา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด