กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม


“ การส่งเสริมการดูแลตนเองในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ”

ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาลีหย๊ะ หง๊ะจะแอ

ชื่อโครงการ การส่งเสริมการดูแลตนเองในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5251-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"การส่งเสริมการดูแลตนเองในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การส่งเสริมการดูแลตนเองในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " การส่งเสริมการดูแลตนเองในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5251-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไตวายเรื้อรังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มอัตราการเสียชีวิต เมื่อโรคดำเนินไปสู่ระยะที่ 5 และเกิดภาวะไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end stage renal disease : ESRD) จะทำให้การพยากรณ์ของโรคแย่ลง มีอัตราการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้น ตลอดจนค่ารักษาเพิ่มขึ้นมาก จำเป็นต้องได้รับการบำบัดทดแทนไต โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง ได้แก่ การฟอกด้วยเครื่องไตเทียม การล้างของเสียทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง และการปลูกถ่ายไต ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยและครอบครัว และมีค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง ค่าการบำบัดทดแทนไตเฉลี่ย 250,000 บาทต่อคนต่อปี     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต มีผู้ป่วยมีภาวะไตวายเรื้อรัง ทั้งหมดจำนวน 86 ราย อยู่ในระยะที่ 1-2 จำนวน 48 ราย (ร้อยละ 55.8) อยู่ในระยะที่ 3-5 จำนวน 38 ราย (ร้อยละ 32.68) ผู้ที่มีภาวะไตวายเรื้อรังควรได้รับความรู้เรื่องชะลอไตวายเรื้อรัง ได้แก่การให้ความรู้เรื่องอาหาร และการปฏิบัติตัวที่เหมาะสม การหลีกเลี่ยง ยาและอาหารที่มีผลต่อไต การดูแลสุขภาพทางกายและใจที่เหมาะสม จะช่วยชะลอการเสื่อมของไตได้ นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจมากกว่าการสูญเสียทรัพยากรไปใช้ในการรักษาระยะท้ายของโรค     โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขตได้เห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไตวายเรื้อรัง และการชะลอไตเสื่อม ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับโรคที่เป็น ส่งเสริมให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีการจัดการตนเองอย่างเหมาะ จึงได้จัดทำโครงการรักษ์ไต ชีวิตสดใส ชะลอไตวายเรื้อรัง โดยมีเป้าหมายเพื่อชะลอโรคไตวายเรื้อรัง ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย รวมถึงช่วยลดต้นทุนในการดูแลสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีความรู้เพียงพอในการจัดการตนเองเกี่ยวกับโรคที่เป็น
  2. 2 ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 86
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมีความรู้สามารถดูแลตนเองเพื่อชะลอไตเสื่อมระยะสุดท้ายได้
      1. ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถชะลอไตเสื่อมได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีความรู้เพียงพอในการจัดการตนเองเกี่ยวกับโรคที่เป็น
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น โดยประเมินความรู้จากแบบทดสอบ pretest , post-test
    1.00

     

    2 2 ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมาย มีอัตราการลดลงของอัตราการกรองของไต (GFR) < 4
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 86
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 86
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเพิ่มศักยภาพให้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีความรู้เพียงพอในการจัดการตนเองเกี่ยวกับโรคที่เป็น (2) 2 ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและดูแลสุขภาพเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การส่งเสริมการดูแลตนเองในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L5251-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวมาลีหย๊ะ หง๊ะจะแอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด