กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการ รณรงค์ ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ รณรงค์ ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาว ไหมดีหน๊ะ มันเส็น




ชื่อโครงการ โครงการ รณรงค์ ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5251-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ รณรงค์ ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ รณรงค์ ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ รณรงค์ ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5251-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 215,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ ส่งผลกระทบต่อสังคมตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงสังคมโลก ซึ่งถ้าไม่สามารถหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ได้อย่างเด็ดขาด อาจจะทำให้เกิดความสูญเสียต่อมวลมนุษย์ชาติอย่างร้ายแรง โดยเฉพาะในพื้นที่ตำบลสำนักขามซึ่งเป็นพื้นที่ที่ติดต่อกับชายแดนไทย - มาเลเซีย ซึ่งเป็นแหล่งย่านธุรกิจมีสถานบันเทิงเกิดขึ้นมากมายในรูปแบบต่าง ๆ มีบริการแก่นักท่องเที่ยวซึ่งส่วนใหญ่ล้วนเป็นชาวต่างชาติ ทำให้เกิดการสร้างอาชีพใหม่ ๆ เกิดขึ้น หนึ่งในอาชีพนี้ คือการบริการทางเพศ โดยการบริการทางเพศ มีในรูปแบบของการขายบริการทั้งทางแฝงและทางตรง พนักงานบริการหญิงส่วนใหญ่อยู่ในวัยรุ่นจนถึงวัยกลางคน ซึ่งอาศัยอยู่ทั่วพื้นที่ทั้งในคาราโอเกะ โรงแรม ผับ บาร์ สปา และแฝงอยู่ในห้องเช่ามากมาย โดยเฉพาะในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านไทย-จังโหลน และเมื่อมีพฤติกรรมทางเพศก็ย่อมเกิดการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันหรือไม่ใช้ถุงยางอนามัยกับแขกประจำ(คู่ขา) อีกทั้งยังพบว่ามีปัญหาความไม่เข้าใจการใช้ถุงยางอนามัยที่ถูกต้อง ซึ่งเป็นช่องทางที่ทำให้มีโอกาสแพร่ระบาดของเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์       จากการสำรวจกลุ่มเป้าหมายโดยกลุ่มอาสาสมัครพัฒนาด่านนอก สำนักงานเทศบาลตำบลสำนักขาม ( สิงหาคม 2559 ) สถานบริการในพื้นที่มีทั้งหมด 264 ร้าน กลุ่มพนักงานบริการหญิงทั้งหมดประมาณ 7,792 ราย กลุ่มอิสระ ประมาณ 4,909 ราย และกลุ่มที่มีสังกัดที่มีร้าน/ทำงานในร้าน 2,883 ราย จากข้อมูลดังกล่าวในพื้นที่จึงมีแผนงานในการดูแลกลุ่มเป้าหมายกลุ่มนี้ ร้อยละ 61% กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มชาติพันธ์ ลาว พม่า กัมพูชา เป็นต้น และยังพบอีกว่า กลุ่มพนักงานบริการยังมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการป้องกันตัวเอง จากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ และการดูแลรักษาสุขภาพ เพศ ของตนเองไม่ถูกต้องเหมาะสม และมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์นำไปสู่การแพร่เชื้อต่อบุคคลอื่นด้วย
      และจากการดำเนินการโครงการปี 61 จำนวน 300 รายของกลุ่มอาสาสมัครพัฒนาด่านนอก มีผู้ติดเชื้อเอดส์ 1 ราย ติดเชื้อซิฟิลิส 1 ราย กลุ่มอาสาสมัครพัฒนาด่านนอก เทศบาลตำบลสำนักขาม  เล็งเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันมิให้เกิดโรคติดต่อดังกล่าว จึงดำเนินโครงการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและสร้างเครือข่ายการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าถึงยาก ในกลุ่มพนักงานบริการหญิง  โดยเน้นกิจกรรมการเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสาร เพื่อสร้างความตระหนัก เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและเพื่อให้เข้าถึงบริการด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น  ด้วยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่ให้บริการดูแลด้านสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าของสถานบริการ และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายของโครงการ คือพนักงานหญิงบริการและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังเข้าไม่ถึงบริการด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง
กลุ่มอาสาสมัครพัฒนาด่านนอก เทศบาลตำบลสำนักขาม จึงเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการเข้าถึงบริการตรวจการติดเชื้อแก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขามโดยการออกให้บริการ(Mobile clinic) ในเขตพื้นที่ตำบลสำนักขาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มพนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ด้วยความสมัครใจ ลดการติดเชื้อและแพร่ระบาดในกลุ่มพนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุม/วางแผนการดำเนินงานในพื้นที่แกนนำอาสาสมัคร เจ้าของสถานบริการ เพื่อหาแนวทางการประสานความร่วมมือการให้บริการด้านสุขภาพและการทำงานเชิงรุกในสถานบริการ
  2. 2. ประชาสัมพันธ์โครงการและชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการให้แก่เจ้าของสถานบริการ/พนักงานบริการ และบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทราบ
  3. 3. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. 4. จัดกิจกรรมเชิงรุกในสถานบริการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยคณะทำงานแกนนำอาสาฯ ก่อนทำการตรวจคัดกรอง จำนวน 8ครั้ง
  5. 5. การให้การปรึกษาและให้ความรู้เพื่อการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยความสมัครใจ โดยเจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาเฉพาะทาง
  6. 6. ตรวจเลือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มพนักงานหญิง พนักงานบริการชาย และบุคคลแวดล้อมในพื้นที่ ตามแผนงานดำเนินการจำนวน 8 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง รู้สถานการณ์ติดเชื้อของตัวเอง และได้รับคำแนะนำที่ถูกต้อง การให้คำปรึกษา การดูแลสุขภาพ การป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ถูกต้อง และเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มพนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ด้วยความสมัครใจ ลดการติดเชื้อและแพร่ระบาดในกลุ่มพนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : 1.พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อม เกิดความตระหนักในดูแลตนเองให้ห่างไกลจากการติดเชื้อ เอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เกิดความตระหนัก มีความรู้ ความเข้าใจในการเข้ารับบริการตรวจเลือด (VCCT) เพื่อหาเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และเข้ารับบริการตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีและซิฟิลิส จำนวน 500 คน ตามเป้าหมาย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มพนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ด้วยความสมัครใจ  ลดการติดเชื้อและแพร่ระบาดในกลุ่มพนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุม/วางแผนการดำเนินงานในพื้นที่แกนนำอาสาสมัคร เจ้าของสถานบริการ เพื่อหาแนวทางการประสานความร่วมมือการให้บริการด้านสุขภาพและการทำงานเชิงรุกในสถานบริการ (2) 2. ประชาสัมพันธ์โครงการและชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการให้แก่เจ้าของสถานบริการ/พนักงานบริการ และบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องทราบ (3) 3. ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (4) 4. จัดกิจกรรมเชิงรุกในสถานบริการเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักในการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์  โดยคณะทำงานแกนนำอาสาฯ ก่อนทำการตรวจคัดกรอง จำนวน 8ครั้ง (5) 5. การให้การปรึกษาและให้ความรู้เพื่อการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยความสมัครใจ โดยเจ้าหน้าที่ให้คำปรึกษาเฉพาะทาง (6) 6. ตรวจเลือดเพื่อหาการติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่กลุ่มพนักงานหญิง พนักงานบริการชาย และบุคคลแวดล้อมในพื้นที่  ตามแผนงานดำเนินการจำนวน 8 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ รณรงค์ ป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แก่พนักงานบริการหญิงและบุคคลแวดล้อมที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ตำบลสำนักขาม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5251-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาว ไหมดีหน๊ะ มันเส็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด