กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
3. กิจกรรมติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามเกณฑ์4 ตุลาคม 2562
4
ตุลาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ/กลยุทธ์การดำเนินการ           กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน กลวิธีตามกลยุทธ์               1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน  ผู้นำศาสนา และ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) เรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อ 2.ให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการประกาศติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด 3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกสัปดาห์ 4.ผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด จะนำชื่อไปติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ผู้นำศาสนาประกาศชื่อ ในวันศุกร์ เดือนละ 1 ครั้ง 5.ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์ในทุกหมู่บ้าน และจัดทำเอกสารแผ่นพับความรู้เรื่องวัคซีนแจกให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจ กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี กลวิธีตามกลยุทธ์ 1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการติดตามวัคซีน และให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
                2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน แกนนำอสม.จำนวน 120  คน
5.วิธีดำเนินการ (ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)           ขั้นเตรียมการ             1. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ             2. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในการฉีดวัคซีน             3. จัดทำแผนปฏิบัติการฉีดวัคซีนเชิงรุก         ขั้นดำเนินการ             1. ประชุมผู้นำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน             2. อสม.ติดตามและนำส่งเด็กมารับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ รพ.สต.             3. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมมารับบริการที่ รพ.สต.             4. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน และผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ความตระหนักเรื่องวัคซีน จำนวน 70  คน
      6.จัดนิทรรศการเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยมีเด็กนักเรียน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.) ผู้นำศาสนา/ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน           7. สรุปประเมินผลโครงการ           ระยะหลังดำเนินการ             ติดตามความครอบคลุมวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายทุกสามเดือนรายไตรมาส

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน
  3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน4 ตุลาคม 2562
4
ตุลาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ/กลยุทธ์การดำเนินการ           กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน กลวิธีตามกลยุทธ์               1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน  ผู้นำศาสนา และ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) เรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อ 2.ให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการประกาศติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด 3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกสัปดาห์ 4.ผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด จะนำชื่อไปติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ผู้นำศาสนาประกาศชื่อ ในวันศุกร์ เดือนละ 1 ครั้ง 5.ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์ในทุกหมู่บ้าน และจัดทำเอกสารแผ่นพับความรู้เรื่องวัคซีนแจกให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจ กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี กลวิธีตามกลยุทธ์ 1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการติดตามวัคซีน และให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
                2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน แกนนำอสม.จำนวน 120  คน
5.วิธีดำเนินการ (ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)           ขั้นเตรียมการ             1. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ             2. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในการฉีดวัคซีน             3. จัดทำแผนปฏิบัติการฉีดวัคซีนเชิงรุก         ขั้นดำเนินการ             1. ประชุมผู้นำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน             2. อสม.ติดตามและนำส่งเด็กมารับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ รพ.สต.             3. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมมารับบริการที่ รพ.สต.             4. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน และผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ความตระหนักเรื่องวัคซีน จำนวน 70  คน
      6.จัดนิทรรศการเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยมีเด็กนักเรียน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.) ผู้นำศาสนา/ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน           7. สรุปประเมินผลโครงการ           ระยะหลังดำเนินการ             ติดตามความครอบคลุมวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายทุกสามเดือนรายไตรมาส

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน
  3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (วัคซีน) แก่ผู้ปกครองเด็กที่บ่ายเบี่ยงวัคซีน, ผู้นำศาสนา,ผู้นำชุมชน และแกนนำ อสม. จำนวน 120 คน4 ตุลาคม 2562
4
ตุลาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลบาละ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ/กลยุทธ์การดำเนินการ           กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน กลวิธีตามกลยุทธ์               1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน  ผู้นำศาสนา และ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) เรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อ 2.ให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการประกาศติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด 3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกสัปดาห์ 4.ผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด จะนำชื่อไปติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ผู้นำศาสนาประกาศชื่อ ในวันศุกร์ เดือนละ 1 ครั้ง 5.ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์ในทุกหมู่บ้าน และจัดทำเอกสารแผ่นพับความรู้เรื่องวัคซีนแจกให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจ กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี กลวิธีตามกลยุทธ์ 1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการติดตามวัคซีน และให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
                2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน แกนนำอสม.จำนวน 120  คน
5.วิธีดำเนินการ (ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)           ขั้นเตรียมการ             1. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ             2. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในการฉีดวัคซีน             3. จัดทำแผนปฏิบัติการฉีดวัคซีนเชิงรุก         ขั้นดำเนินการ             1. ประชุมผู้นำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน             2. อสม.ติดตามและนำส่งเด็กมารับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ รพ.สต.             3. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมมารับบริการที่ รพ.สต.             4. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน และผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ความตระหนักเรื่องวัคซีน จำนวน 70  คน
      6.จัดนิทรรศการเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยมีเด็กนักเรียน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.) ผู้นำศาสนา/ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน           7. สรุปประเมินผลโครงการ           ระยะหลังดำเนินการ             ติดตามความครอบคลุมวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายทุกสามเดือนรายไตรมาส

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน
  3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน