กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ โดยใช้หลัก 3 อ. ”

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลโคกหล่อ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ โดยใช้หลัก 3 อ.

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1490-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2560 ถึง 28 มีนาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ โดยใช้หลัก 3 อ. จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ โดยใช้หลัก 3 อ.



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ โดยใช้หลัก 3 อ. " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1490-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2560 - 28 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี ๒๕๖๓ จะมีประชากรที่มี อายุตั้งแต่ ๖๐ ปีอยู่ราว ๑ ใน ๖ ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมี ประชากร อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป เกินร้อยละ ๑๐ หรือ ประชากรอายุ ๖๕ ขึ้นไป เกินร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๗ หรืออีก ๙ ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบอย่าง กว้างขวางด้านสุขภาพ รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยบั้น ปลายของชีวิต เป็นวัยที่ต้องพึ่งพาบุตรหลาน เพราะมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ปัญหาด้านสุขภาพที่พบได้บ่อยๆในผู้สูงอายุได้แก่ เกิดภาวะ กระดูกหักง่าย สายตาไม่ดี หูตึง ฟันไม่ดี เป็นลมบ่อย เรอบ่อย ท้องผูก เบาหวาน หลงลืมบ่อย หัวใจและหลอด เลือด และปัญหาทางอารมณ์ ผู้สูงอายุเป็นวัยที่พึ่งพาตนเองได้น้อยลง มีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไปตามระยะของการ พัฒนาการ ซึ่งมีภาวะร่างการที่เสื่อมถอยลง มีโอกาสที่จะเจ็บป่วยได้ง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการ เปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม สาเหตุเนื่องจากผู้สูงอายุและครอบครัวให้ความสำคัญในการดูแลรักษา ด้านสุขภาพน้อยลง เช่น เรื่องการบริโภคอาหาร การขาดการออกกำลังกาย การไม่ได้อยู่ร่วมกันในครอบครัว ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆขึ้นได้ ชมรมผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ รวมถึง เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม สุขภาพผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อโดยใช้หลัก 3 อ. ประจำปีงบประมาณ ๒๕60และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ ทางชมรมผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ เพิ่มแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมเป็นแบบ “สังคม เพื่อคนทุกวัย และผู้สูงอายุยุคใหม่ ห่วงใยใส่ใจสุขภาพ” โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละกลุ่มโดยใช้หลัก 3 อ. คือ 1. อาหารกินอาหารหลายประเภทได้สัดส่วนเพียงพออิ่มในมื้ออาหาร 2. อ. ออกกำลังกายออกกำลังกายทุกสัดส่วน กระตุ้นจังหวะเต้นของหัวใจ3. อ. อารมณ์ อารมณ์ดี ร่าเริงด้วยรอยยิ้มเป็นเรื่องที่สำคัญ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑ เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยใช้หลัก 3 อ.
  2. ๒ เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
  3. ๓ เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้ สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
  4. ๔ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ เอกชน ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในด้าน การส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
  5. 5 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาที่เหมาะสมเช่นโยนห่วงปาเป้า โยนบอลโบว์ลิ่งสนาม เตะบอลเข้าประตู

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ.

    ๒) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำ วันได้ดียิ่งขึ้น

    ๓) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม ตระหนักถึงการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมระหว่างวัยและ สามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขภายในครอบครัว และสังคม

    ๔) ผู้สูงอายที่เข้าร่วมกิจกรรม มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑ เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยใช้หลัก 3 อ.
    ตัวชี้วัด : ๑) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับการส่งเสริมสุขภาพโดยใช้หลัก 3 อ.

     

    2 ๒ เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ๒) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม มีทักษะการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ใน ชีวิตประจำ วันได้ดียิ่งขึ้น

     

    3 ๓ เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้ สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว
    ตัวชี้วัด : ๓) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม ตระหนักถึงการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมระหว่างวัยและ สามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขภายในครอบครัว และสังคม

     

    4 ๔ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ เอกชน ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในด้าน การส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ๔) ผู้สูงอายที่เข้าร่วมกิจกรรม มีประสิทธิภาพในการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุอย่างเป็นระบบ

     

    5 5 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาที่เหมาะสมเช่นโยนห่วงปาเป้า โยนบอลโบว์ลิ่งสนาม เตะบอลเข้าประตู
    ตัวชี้วัด : 5.) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมกิจกรรมสันทนาการโดยการเล่นกีฬา

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 200
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑ เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยใช้หลัก 3 อ. (2) ๒ เพื่อเสริมสร้างทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุ (3) ๓ เพื่อเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุมีปฏิสัมพันธ์ และตระหนักถึงความสำคัญในการอยู่ร่วมกัน ภายใต้
    สังคมผู้สูงอายุและครอบครัว (4) ๔ เพื่อให้ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐ เอกชน ได้มีส่วนร่วมและให้ความสำคัญในด้าน การส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (5) 5 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายโดยการเล่นกีฬาที่เหมาะสมเช่นโยนห่วงปาเป้า
    โยนบอลโบว์ลิ่งสนาม เตะบอลเข้าประตู

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลโคกหล่อ โดยใช้หลัก 3 อ. จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1490-2-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลโคกหล่อ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด