โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
พฤษภาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
รูปแบบการเจ็บป่วยเรื้อรังของคนไทย ที่มีผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจนเสียชีวิตและพิการช่วยตัวเองไม่ได้ต้องเป็นภาระต่อครอบครัวและผู้ดูแลโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญได้แก่โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจทำให้เป็นอัมพฤกษ์อัมพาตหรือเสียชีวิตอย่างเฉียบพลันในการป้องกันโรคเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลานานจริงจังและทำอย่างต่อเนื่องจึงจะเห็นผลลัพธ์เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนกระบวนการสร้างความร่วมมือของทุกองค์กรในชุมชนเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันทั้งระดับปฐมภูมิทุติยภูมิและตติยภูมิจึงจะเกิดประโยชน์และคุ้มค่าที่สุดในการแก้ปัญหา สถานีอนามัยบ้านโคกชะงาย เห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลเพื่อแก้ปัญหาทั้ง๓ระดับในระยะยาวและประกอบกับประชากรในเขตรับผิดชอบของสถานีอนามัยบ้านโคกชะงายเป็นชุมชนที่พบอุบัติการณ์การเกิดโรคสูงอัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายในปี ๒๕๕๙ อยู่ที่๔๕.๔๕ และ ๑๐๗.๗๙ ต่อพันประชากรตามลำดับจากการคัดกรองโรคปี ๒๕๕๙ พบมีกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงถึง ๑๙.๗๔ % และ ๓๔.๓๖ % ตามลำดับ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลบ้านโคกชะงายร่วมกับผู้นำชุมชน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ได้จัดทำโครงการดังกล่าวโดยสร้างเครือข่ายและพัฒนาศักยภาพของอสม.และผู้นำชุมชนให้เกิดทีมที่เข้มแข็ง มีระบบที่ง่ายต่อการเข้าถึงบริการและเป็นวงจรและสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเองทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคอย่างเหมาะสมและต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุข ภาพอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,233
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานโรคความดันโลหิต
สูงครอบคลุมมากกว่าร้อยละ ๙๐และได้รับการดูแลที่เหมาะสม
๒. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีทัศนคติที่ดีต่อการตรวจคัดกรองโรคเกิดความตระหนักให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆและเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
๓. ลดต้นทุนด้านการสร้างสุขภาพในระยะยาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีการดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้และมีการติดตามนิเทศตามแผนเป็นระยะๆและมีผลการดำเนินงานดังนี้
๑. ประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริการตรวจคัดกรองที่รพ.สต. ทุกวัน และเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม.ออกตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายหมู่บ้านละ ๒ ครั้ง และให้ อสม.ตรวจคัดกรองเป้าหมายในเขตรับผิดชอบที่ไม่สามารถตรวจตามเวลานัดได้ ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การตรวจสุขภาพเพื่อการคัดกรอง แจ้งผลการตรวจให้การดูแลตามกลุ่ม นัดตรวจซ้ำและมีการส่งต่อ
๒. หลังมีการติดตามนิเทศระยะๆ และประเมินผลการตรวจคัดกรอง ปี ๒๕60 ดังนี้
๒.๑ ประชากรอายุ๑๕ปีขึ้นไปในหมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๘ ต.โคกชะงาย จำนวน ๑,๒33 คน
- รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดจำนวน ๑,๒๓3 คนคิดเป็น ร้อยละ ๙6.24
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค จำนวน 320 คน คิดเป็น ร้อยละ 25.95
- สงสัยเป็นโรค/และส่งต่อพบแพทย์ จำนวน 23 คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.86
- ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค จำนวน 23 คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.86
- รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน ๑,233 คน คิดเป็น ร้อยละ 96.24
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค จำนวน ๒5๓ คน คิดเป็น ร้อยละ 20.51
-สงสัยเป็นโรคและส่งต่อพบแพทย์ จำนวน ๑0 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.81
- ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค จำนวน ๑0 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.81
๒.๒ กลุ่มเสี่ยงที่รับการติดตามจะนัดตรวจวัดความดันและเจาะ DTX ทุก ๑- ๒ เดือน เพื่อควบคุมระดับความดันและระดับน้ำตาลในเลือด โดยการดูแลตนเองที่เหมาะสมในด้านอาหารและการออกกำลังกาย
๒.๓ จัดทำแผนงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหมู่บ้านลดโรคการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองมากกว่าร้อยละ ๙๐
2
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่าร้อยละ ๖๐
3
เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุข ภาพอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนรับทราบผลการตรวจและได้รับการดูแลตามแนวทางการรักษาตามกลุ่ม
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1233
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,233
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุข ภาพอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร
พฤษภาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
รูปแบบการเจ็บป่วยเรื้อรังของคนไทย ที่มีผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยและครอบครัว ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจนเสียชีวิตและพิการช่วยตัวเองไม่ได้ต้องเป็นภาระต่อครอบครัวและผู้ดูแลโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญได้แก่โรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจทำให้เป็นอัมพฤกษ์อัมพาตหรือเสียชีวิตอย่างเฉียบพลันในการป้องกันโรคเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลานานจริงจังและทำอย่างต่อเนื่องจึงจะเห็นผลลัพธ์เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมของประชาชนกระบวนการสร้างความร่วมมือของทุกองค์กรในชุมชนเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันทั้งระดับปฐมภูมิทุติยภูมิและตติยภูมิจึงจะเกิดประโยชน์และคุ้มค่าที่สุดในการแก้ปัญหา สถานีอนามัยบ้านโคกชะงาย เห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลเพื่อแก้ปัญหาทั้ง๓ระดับในระยะยาวและประกอบกับประชากรในเขตรับผิดชอบของสถานีอนามัยบ้านโคกชะงายเป็นชุมชนที่พบอุบัติการณ์การเกิดโรคสูงอัตราป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายในปี ๒๕๕๙ อยู่ที่๔๕.๔๕ และ ๑๐๗.๗๙ ต่อพันประชากรตามลำดับจากการคัดกรองโรคปี ๒๕๕๙ พบมีกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงถึง ๑๙.๗๔ % และ ๓๔.๓๖ % ตามลำดับ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลบ้านโคกชะงายร่วมกับผู้นำชุมชน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ได้จัดทำโครงการดังกล่าวโดยสร้างเครือข่ายและพัฒนาศักยภาพของอสม.และผู้นำชุมชนให้เกิดทีมที่เข้มแข็ง มีระบบที่ง่ายต่อการเข้าถึงบริการและเป็นวงจรและสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเองทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่เป็นโรคอย่างเหมาะสมและต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
- เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุข ภาพอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,233 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานโรคความดันโลหิต สูงครอบคลุมมากกว่าร้อยละ ๙๐และได้รับการดูแลที่เหมาะสม ๒. ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีทัศนคติที่ดีต่อการตรวจคัดกรองโรคเกิดความตระหนักให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่างๆและเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านสุขภาพของคนในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ๓. ลดต้นทุนด้านการสร้างสุขภาพในระยะยาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มีการดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้และมีการติดตามนิเทศตามแผนเป็นระยะๆและมีผลการดำเนินงานดังนี้
๑. ประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้บริการตรวจคัดกรองที่รพ.สต. ทุกวัน และเจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม.ออกตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายหมู่บ้านละ ๒ ครั้ง และให้ อสม.ตรวจคัดกรองเป้าหมายในเขตรับผิดชอบที่ไม่สามารถตรวจตามเวลานัดได้ ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง การตรวจสุขภาพเพื่อการคัดกรอง แจ้งผลการตรวจให้การดูแลตามกลุ่ม นัดตรวจซ้ำและมีการส่งต่อ
๒. หลังมีการติดตามนิเทศระยะๆ และประเมินผลการตรวจคัดกรอง ปี ๒๕60 ดังนี้
๒.๑ ประชากรอายุ๑๕ปีขึ้นไปในหมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๘ ต.โคกชะงาย จำนวน ๑,๒33 คน
- รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมดจำนวน ๑,๒๓3 คนคิดเป็น ร้อยละ ๙6.24
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค จำนวน 320 คน คิดเป็น ร้อยละ 25.95
- สงสัยเป็นโรค/และส่งต่อพบแพทย์ จำนวน 23 คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.86
- ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค จำนวน 23 คน คิดเป็น ร้อยละ ๑.86
- รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด จำนวน ๑,233 คน คิดเป็น ร้อยละ 96.24
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค จำนวน ๒5๓ คน คิดเป็น ร้อยละ 20.51
-สงสัยเป็นโรคและส่งต่อพบแพทย์ จำนวน ๑0 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.81
- ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค จำนวน ๑0 คน คิดเป็น ร้อยละ 0.81
๒.๒ กลุ่มเสี่ยงที่รับการติดตามจะนัดตรวจวัดความดันและเจาะ DTX ทุก ๑- ๒ เดือน เพื่อควบคุมระดับความดันและระดับน้ำตาลในเลือด โดยการดูแลตนเองที่เหมาะสมในด้านอาหารและการออกกำลังกาย
๒.๓ จัดทำแผนงานการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหมู่บ้านลดโรคการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองมากกว่าร้อยละ ๙๐ |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมากกว่าร้อยละ ๖๐ |
|
|||
3 | เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุข ภาพอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ประชาชนรับทราบผลการตรวจและได้รับการดูแลตามแนวทางการรักษาตามกลุ่ม |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1233 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,233 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) เพื่อให้ชุมชนเกิดความตระหนัก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุข ภาพอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอุไร พงค์จันทร์เสถียร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......