กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน“เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส” ”

ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตและห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน“เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส”

ที่อยู่ ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตและห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3321-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มิถุนายน 2562 ถึง 18 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน“เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส” จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตและห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน“เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน“เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส” " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตและห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L3321-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มิถุนายน 2562 - 18 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกและอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ ๑ – ๓ ปี สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กมีฟันผุมาจากพฤติกรรมของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้อง ทั้งโครงสร้างของอาหารที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้มีผลต่อการดูแลรักษาฟัน และการดูแลทำความสะอาดช่องปากเด็กไม่ถูกวิธี จึงส่งผลให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง ทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอและยังส่งผลต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนาการของเด็ก การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก จากการสำรวจสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน ๓ – ๕ ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต ซึ่งเป็นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลปันแต ปี ๒๕๖1 พบว่า เด็กมีปัญหาโรคฟันผุ คิดเป็นร้อยละ 53.84 มีค่าเฉลี่ยฟันผุ ๒.28 ซี่/คน และเด็กอายุ ๓ – ๕ ปีที่ปราศจากฟันผุคิดเป็นร้อยละ 44.62 ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนจึงได้จัดทำโครงการเด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต ตำบลปันแต เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุในเด็ก และส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อไปดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนจึงได้จัดทำโครงการเด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุในเด็ก และส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องของเด็กก่อนวัยเรียน ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตมีอุปกรณ์ใช้ทำความสะอาดช่องปากอย่างเพียงพอข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส”

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมหลัก ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ วิธีการทำความสะอาดช่องปาก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 83
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กปฐมวัยมีสุขภาพฟันแข็งแรงและมีสุขนิสัยที่ดี
2.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพฟันให้แก่เด็กปฐมวัย 3.เด็กก่อนวัยเรียนมีอนามัยช่องปากที่ดีไม่เป็นปัญหา 4.ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 5.ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 6.ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียน 7.เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมหลัก ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ วิธีการทำความสะอาดช่องปาก

วันที่ 17 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมที่ 2 การให้ความรู้ผู้ปกครอง เรื่องโรคฟันผุ อาหารที่ทำให้เกิดฟันผุ และการดูแลทำความสะอาดช่องปากเด็ก กิจกรรมที่ 3 ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผลการดำเนินงาน 1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคฟันผุ อาหารที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ และการทำความสะอาดช่องปากที่ถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น          ร้อยละ 81.82 3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการระดับมาก ร้อยละ  97.78 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 17 เดือนมิถุนายน  พ.ศ. 2562 วันที่ 18 เดือนมิถุนายน  พ.ศ. 2562 4. สถานที่ดำเนินการ 4.1 ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต 4.2 ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ เงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต  จำนวน 5,460 บาท (ห้าพันสี่ร้อยหกสิบบาทถ้วน)  เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 5.1 แปรงสีฟัน จำนวน 83 ด้าม  x 10  บาท  เป็นเงิน 830 บาท 5.2 ค่ายาสีฟัน จำนวน ๘3 ด้าม x  20 บาท เป็นเงิน 1,660 บาท 5.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 94 คน x 1 มื้อ x      25 บาท เป็นเงิน 2,350 บาท 5.4 ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการจำนวน 84 แผ่น x 0.50 บาท  เป็นเงิน
42 บาท 5.5  ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 166 แผ่น    x 0.50  บาท เป็นเงิน 83  บาท 5.6 ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 90 แผ่น x  0.50 บาท เป็นเงิน 45 บาท 5.7 ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 450 บาท งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 5,460 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 5,460 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ – 6. ผลที่ได้รับ 6.1 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพฟันให้แก่เด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น 6.2 ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 6.3 ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 6.4 ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของ เด็กก่อนวัยเรียน 6.5 เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 7. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ผู้ปกครองเด็กบางคนไม่ได้มาร่วมโครงการเนื่องจากต้องทำงานประจำ ไม่สามารถมาร่วมโครงการได้และบางส่วนก็ให้ปู่ ย่า ตา ยายของเด็กมาร่วมกิจกรรมแทนทำให้การให้ความรู้บางอย่างต้องอธิบายหลายๆครั้งเพื่อให้ผู้ปกครองเด็กเข้าใจตรงกัน แนวทางแก้ไข (ระบุ)     จัดกิจกรรมร่วมกันกับการประชุมผู้ปกครอง เพื่อได้ร่วมกิจกรรมกับผู้ปกครองมากที่สุด

 

84 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน 1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคฟันผุ อาหารที่ทำให้เกิดโรคฟันผุ และการทำความสะอาดช่องปากที่ถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น      ร้อยละ 81.82 3.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการระดับมาก ร้อยละ 97.78 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ 3. ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 17 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 วันที่ 18 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 4. สถานที่ดำเนินการ 4.1 ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต 4.2 ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอ 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ เงินบำรุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ซึ่งได้รับสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปันแต จำนวน 5,460 บาท (ห้าพันสี่ร้อยหกสิบบาทถ้วน) เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 5.1 แปรงสีฟัน จำนวน 83 ด้าม x 10 บาท เป็นเงิน 830 บาท 5.2 ค่ายาสีฟัน จำนวน ๘3 ด้าม x 20 บาท เป็นเงิน 1,660 บาท 5.3 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 94 คน x 1 มื้อ x  25 บาท เป็นเงิน 2,350 บาท 5.4 ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการจำนวน 84 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 42 บาท 5.5 ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบความรู้ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 166 แผ่น  x 0.50 บาท เป็นเงิน 83 บาท 5.6 ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 90 แผ่น x  0.50 บาท เป็นเงิน 45 บาท 5.7 ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร จำนวน 1 แผ่น เป็นเงิน 450 บาท งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 5,460 บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง 5,460 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ - บาท คิดเป็นร้อยละ – 6. ผลที่ได้รับ 6.1 ผู้ปกครองเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพฟันให้แก่เด็กปฐมวัยเพิ่มขึ้น 6.2 ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 6.3 ชุมชนมีส่วนร่วมและส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน 6.4 ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันของ เด็กก่อนวัยเรียน 6.5 เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 7. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ผู้ปกครองเด็กบางคนไม่ได้มาร่วมโครงการเนื่องจากต้องทำงานประจำ ไม่สามารถมาร่วมโครงการได้และบางส่วนก็ให้ปู่ ย่า ตา ยายของเด็กมาร่วมกิจกรรมแทนทำให้การให้ความรู้บางอย่างต้องอธิบายหลายๆครั้งเพื่อให้ผู้ปกครองเด็กเข้าใจตรงกัน แนวทางแก้ไข (ระบุ)   จัดกิจกรรมร่วมกันกับการประชุมผู้ปกครอง เพื่อได้ร่วมกิจกรรมกับผู้ปกครองมากที่สุด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องของเด็กก่อนวัยเรียน ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตมีอุปกรณ์ใช้ทำความสะอาดช่องปากอย่างเพียงพอข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส”
ตัวชี้วัด : ข้อ 1 ร้อยละ ๘๐ ของผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กเพิ่มมากขึ้นภายหลังจากได้รับความรู้ ข้อ 2 ร้อยละ ๑๐๐ ของเด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแต มีแปรงสีฟันใช้ทำความสะอาดช่องปาก ข้อ 3 ร้อยละ 80 ของผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อโครงการในระดับมากขึ้นไป
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 83 84
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 83 84
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องของเด็กก่อนวัยเรียน  ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักกอและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนปันแตมีอุปกรณ์ใช้ทำความสะอาดช่องปากอย่างเพียงพอข้อที่ 3  เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม “เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส”

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลัก ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคฟันผุ วิธีการทำความสะอาดช่องปาก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กก่อนวัยเรียน“เด็กปฐมวัยฟันดี ยิ้มสดใส” จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L3321-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด