กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยสื่อจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายประกอบ เกษาทร(ประธานชมรมผู้สูงอายุ)

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยสื่อจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-10(2)-s4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยสื่อจากภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยสื่อจากภูมิปัญญาท้องถิ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยสื่อจากภูมิปัญญาท้องถิ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-10(2)-s4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เป็นที่น่าวิตกมากเมื่อพบว่าโดยภาพรวมแล้ว เด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยที่พ่อแม่ ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ดังนั้นจึงหาของเล่นที่สำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาด โดยไม่คำนึงถึงว่าของเล่นนั้นๆสามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยหรือไม่     สำหรับเด็กปฐมวัย การเล่นมีความสำคัญต่อการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก เพราะการเล่นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กในอนาคต ดังนั้น พ่อ แม่ และผู้เลี้ยงดู ต้องเข้าใจและสามารถนำของเล่น หรือกิจกรรมการเล่นไปใช้กับเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัยทำให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ได้เหมาะสมกับวัยและเพื่อทำให้ทักษะการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ก้าวไปอย่างมีคุณภาพซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในอนาคต     สื่อที่เหมาะสม ประหยัดมากที่สุดสำหรับเด็กปฐมวัย คือ วัสดุที่ได้จากธรรมชาติและจากเศษวัสดุต่างๆวัสดุจากธรรมชาติ ได้แก่ใบไม้ กิ่งไม้ เปลือกไม้ ลูกไม้ เปลือกหอย หิน ก้อนกรวด ทรายฯลฯ และวัสดุที่ได้จากเศษวัสดุเหลือใช้ต่างๆได้แก่ เศษผ้า ฝาขวด กล่องนม ถุงกระดาษฯลฯ วัสดุทั้งสองชนิดนี้นอกจากช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายแล้วยังช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ และยังช่วยรักษาวัฒนธรรม ของเล่นจากภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยให้คงอยู่ตลอดไป นอกจากนั้นการทำของเล่นจากวัสดุพื้นบ้าน จึงเป็นวัตถุทางวัฒนธรรมที่สะท้อนถึงสภาพวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ภูมิปัญญาท้องถิ่นของปู่ยาตายาย นอกจากเป็นการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นแล้วยังเป็นการส่งเสริมให้ครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งเป็นคนเฒ่าคนแก่ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และได้สานสัมพันธ์กับลูกหลาน เป็นการส่งผลต่อสภาพจิตใจของผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดีไปด้วย ชมรมผู้สูงอายุตำบลทำนบ เล็งเห็นว่าโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยสื่อจากภูมิปัญญา ท้องถิ่น จะเป็นประโยชน์ทั้งต่อผู้สูงอายุที่มีความรู้ทางภูมิปัญญาท้องถิ่นและเด็กปฐมวัยในการส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านให้มีความพร้อม มีการพัฒนาการที่เหมาะสมกับวัยต่อไป จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวเพื่อเสนอขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมสุขภาพตำบลทำนบขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. .1 ให้ความรู้เรื่องพัฒนาการของเด็กทั้ง 4 ด้าน ด้วยของเล่นเป็นสื่อกลาง 4.2 การจัดทำของเล่นจากวัสดุที่ได้จากธรรมชาติและวัสดุเหลือใช้ โดยภูมิปัญญาชาวบ้าน -รถกระป๋อง -ลูกข่างจากไม้ แผ่นซีดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรมผู้สูงอายุตำบลทำนบ ได้ดำเนินการโครงการในวันอาทิตย์ที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ ตั้งแต่เวลา ๐๘.๓๐ น.ถึง ๑๖.๓๐ น. ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทำนบ ในการจัดกิจกรรมได้มีการแบ่งกลุ่มเป็น๒กลุ่มเพื่อนเรียนรู้การทำสื่อจากภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยผู้เข้าร่วมมีความสนใจเป็นอย่างดี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) .1  ให้ความรู้เรื่องพัฒนาการของเด็กทั้ง  4  ด้าน  ด้วยของเล่นเป็นสื่อกลาง 4.2  การจัดทำของเล่นจากวัสดุที่ได้จากธรรมชาติและวัสดุเหลือใช้ โดยภูมิปัญญาชาวบ้าน  -รถกระป๋อง -ลูกข่างจากไม้  แผ่นซีดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้วยสื่อจากภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-10(2)-s4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประกอบ เกษาทร(ประธานชมรมผู้สูงอายุ) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด