กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.ผลการดำเนินงาน 1.จัดอบรมให้ความรู้และคำปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขและประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเสี่ยง 1 วัน 2.จัดกิจกรรมออกกำลังกายทุกวันจันทร์-อังคาร-พฤหัสบดี-ศุกร์ 1. มีการจัดกิจกรรมออกกำลังกายเต้นแอโรบิค-บาร์สโลบ ร่วมกัน ทุกวันจันทร์-อังคาร-พฤหัสบดี-ศุกร์ เวลา 17.00 น.  ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต 2. มีกิจกรรมโยคะบำบัด ทุกวันพุธ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต 3. จัดกิจกรรมพัฒนาคลินิกไร้พุงเพื่อให้บริการแก่กลุ่มวัยทำงานที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและอบรมให้ความรู้และคำปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย 2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด  บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
3. ระยะเวลาดำเนินการ 3.1 พัฒนาคลินิกไร้พุง ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 พฤษภาคม 2562 3.2 ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรายเก่า/ใหม่ในคลินิก ในวันที่ 6 มิถุนายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562 4. สถานที่ดำเนินการ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน    จังหวัดพัทลุง 5. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ  31,800  บาท
    งบประมาณเบิกจ่ายจริง  26,900 บาท  คิดเป็นร้อยละ 84.59 งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 4,900 บาท  คิดเป็นร้อยละ 15.41 รายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ 5. กิจกรรมพัฒนาคลินิกไร้พุงเพื่อให้บริการแก่กลุ่มวัยทำงานที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและอบรมให้ความรู้และคำปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ 26,900 บาท รายละเอียดดังนี้
      5.1.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 50 คน x 2 มื้อ x
25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 5.1.2 ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 50 คน x 1 มื้อ x 50 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 5.1.3 ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง x 300 เป็นเงิน 1,800 บาท 5.1.4 Roll Up ปิงปอง 7 สี ขนาด 60 ซม. x 160 ซม. จำนวน 1 ป้าย x 1,000 บาท
เป็นเงิน 1,000 บาท 5.1.5 Roll Up การออกกำลังกาย ขนาด 60 ซม. x 160ซม. จำนวน 1 ป้าย x 1,000บาท เป็นเงิน 1,000 บาท 5.1.6 โมเดลผลไม้จำลอง จำนวน 1 ชุด  ราคา 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 5.1.7 โมเดลผักจำลอง จำนวน 1 ชุด  ราคา 2,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 5.1.8 แฟ้มประวัติผู้เข้าร่วมโครงการ DPAC จำนวน 30 แฟ้ม x 70บาท เป็นเงิน 2,100 บาท 5.1.9 Roll Up การประเมินความเสี่ยงก่อน/หลังก่อนออกกำลังกาย จำนวน 2 ป้าย x
1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 5.1.10 อุปกรณ์ส่งเสริมการออกกำลังกาย 5.1.10.1 อุปกรณ์การออกกำลังกาย ตารางเก้าช่อง จำนวน 25 อัน x 200 บาทเป็นเงิน 5,000 บาท 5.1.10.2 อุปกรณ์การออกกำลังกาย เสื่อโยคะ จำนวน 25 ผืน x 200 บาท
เป็นเงิน 5,000 บาท 6. ผลที่ได้รับ 6.1 ประชาชนได้รับบริการจากคลินิก DPAC ที่มีมาตรฐาน 6.2 ลดอัตราป่วยในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มหญิง – ชาย วัยทำงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพ ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการลดน้ำหนัก และทำกิจกรรมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมเข้าใจวิธีการที่จะจัดการตนเองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ยั่งยืน 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ขยายผลสู่ครอบครัว ชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ ในกลุ่มหญิง – ชาย วัยทำงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญ การส่งเสริมสุขภาพ  ข้อที่ 2 เพื่อสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ ในการลดน้ำหนัก และทำกิจกรรมร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาคลินิกไร้พุงเพื่อให้บริการแก่กลุ่มวัยทำงานที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังและอบรมให้ความรู้และคำปรึกษาแก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh