กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพัชรีเรืองศรี

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3351-01-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 เมษายน 2560 ถึง 24 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-01-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 เมษายน 2560 - 24 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รูปแบบการการเจ็บป่วยเรื้อรังของคนไทยที่มีผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยและครอบครัวทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจนเสียชีวิตและพิการช่วยตัวเองไม่ได้ต้องเป็นภาระต่อครอบครัวและผู้ดูแล โรคที่เป็นสาเหตุสำคัญได้แก่โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และตามมาด้วยโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจทำให้เป็นอัมพฤกษ์อัมพาต หรือเสียชีวิตอย่างเฉียบพลัน โรคเหล่านี้ถึงแม้จะมีการศึกษาจนมีความรู้ถึงสาเหตุการเกิดพยาธิสภาพของโรคอย่างดีมีการผลิตยาการวิจัยแนวทางการรักษาใหม่ๆอยู่เสมอแต่ก็ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้รวมทั้งมีอัตราของการพบโรคสูงขึ้นเรื่อยๆและเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่ยังมองไม่เห็นแนวทางการแก้ปัญหาที่เป็นรูปธรรมและยั่งยืน ประชาชนที่เป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีปัจจัยเสี่ยงสำคัญหลายประการด้วยกันได้แก่ปัจจัยทางพันธุกรรมอายุที่มากขึ้น ภาวะอ้วนและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมในการควบคุมป้องกันโรคเหล่านี้ต้องใช้ระยะเวลานาน จริงจังและทำอย่างต่อเนื่อง จึงจะเห็นผลลัพธ์เนื่องจากเกี่ยวข้องกับปัจจัยทั้งภายนอกและภายในเช่น ด้านความรู้ประสบการณ์ การปรับเปลี่ยนทัศนคติและพฤติกรรมในการดูแลตนเองให้เหมาะสม การรับรู้ถึงอันตรายเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนและวิธีปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรคอย่างถูกต้อง จากข้อมูลสถิติปี 255๙ พบว่าประชากรในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายเป็นชุมชนที่พบอุบัติการณ์การเกิดโรคดังกล่าวสูงอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายในปี ๒๕๕๙ อยู่ที่๔๕.๔๕ และ ๑๐๗.๗๙ ต่อพันประชากรตามลำดับจากการคัดกรองโรคปี ๒๕๕๙ พบมีกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงถึง ๑๙.๗๔ % และ ๓๔.๓๖ % ตามลำดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายจึงได้จัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงขึ้น เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเหล่านี้ได้เรียนรู้การดูแลสุขภาพตนเองเข้าใจลักษณะการเกิดโรคภาวะแทรกซ้อนที่ตามมาและการปฏิบัติตัวเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมสามารถป้องกันและควบคุมโรคได้เป็นการขยายบริการสาธารณสุขพื้นฐานสู่ประชาชนส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกส่งผลให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีและดำรงชีวิตอย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาและโรคความดันโลหิตสูง หวานรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 400
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. กลุ่มเสี่ยงเกิดความตระหนักถึงความสำคัญโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง ๒. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

                      - กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  ๔๐๐ คน
            - กลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๔๐๐ คน  คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐           - อัตราของประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานป่วยเป็นโรคเบาหวาน 10 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.5           - อัตราของประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง  23 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.75 - อัตราการเกิดโรคเบาและโรคความดันโลหิตสูง หวานรายใหม่ ลดลงจากเดิมปี ๒๕๕9 ร้อยละ 2.75  เหลือ ร้อยละ 1.22

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น โดยวัดจากการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง

     

    3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาและโรคความดันโลหิตสูง หวานรายใหม่
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของจำนวนผู้มีค่าความดันโลหิตสูงหรือน้ำตาลในเลือดสูง มีระดับความดันโลหิตหรือน้ำตาลในเลือดลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 400
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงลดพฤติกรรมเสี่ยงและสามารถดูแลสุขภาพตนเองขั้นพื้นฐานได้อย่างเหมาะสม (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเบาและโรคความดันโลหิตสูง หวานรายใหม่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3351-01-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพัชรีเรืองศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด