กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
อบรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 1 มี.ค. 2562 13 มี.ค. 2562

 

อบรมให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการรับประธานอาหาร อาหารสุขภาพ 1 มี.ค. 2562 13 มี.ค. 2562

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหาร อาหารสุขภาพ

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค สาธิตเมนูสุขภาพ 1 มี.ค. 2562 13 มี.ค. 2562

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค สาธิตเมนูสุขภาพ

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

    ก่อนการอบรม          หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21  48.84    8  14  32.56   8  12    27.91    9  17  39.53   9  6  13.95    10  12  27.91   10  4    9.30
รวม 43  100    รวม  40  100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

 

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น 5 มี.ค. 2562 13 มี.ค. 2562

 

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น

 

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

 

กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการอารมณ์ 8 มี.ค. 2562 14 มี.ค. 2562

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการอารมณ์

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

    ก่อนการอบรม          หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21  48.84    8  14  32.56   8  12    27.91    9  17  39.53   9  6  13.95    10  12  27.91   10  4    9.30
รวม 43  100    รวม  40  100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

 

กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค การนอน นาฬิกาชีวิต ชีวจิตสร้างสุข 8 มี.ค. 2562 14 มี.ค. 2562

 

อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค การนอน นาฬิกาชีวิต ชีวจิตสร้างสุข

 

จากการประเมินตนเองในเรื่องพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย และอารมณ์ มีจำนวนคำถามทั้งหมด 20 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน ได้คะแนน ดังนี้

พฤติกรรมที่ปฏิบัติ ความถี่การปฏิบัติ                                     ประจำ        ครั้งคราว      ไม่เคยเลย
                                      (จำนวนคน)  (จำนวนคน)    (จำนวนคน) 1. กินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม )    43          0          0 2. กินอาหารหลากหลาย ไม่ซ้ำซาก                30          13          0 3. กินผักมากกว่าวันละ 3 ทัพพี                    30          13            0 4. กินผลไม้วันละ 2-3 ส่วน (หนึ่งส่วนเท่ากับ 6-8 คำ)    25          10          8 5. กินปลา อย่างน้อยวันละ 1 มื้อ                11            31          2 6. กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน สัปดาห์ละ 2-3 มื้อ            13          27          3 7. ดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว                10          28          5 8. กินอาหารมื้อเย็นห่างจากเวลานอนไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง  18          19          6 9. กินอาหารประเภทต้ม นึ่ง ลวก อบ                18          19          6 10. หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง                    40          3          0 11. หลีกเลี่ยงของหวาน และขนมที่มีแป้งและน้ำตาลมาก    37          3          3 13. เลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน        43          0          0 14. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์            43          0          0 15. อารมณ์ดี ไม่เครียด                        40          3          0 16. นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง            43          0          0 17. ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน                    39          4          0 18. ออกกำลังวันละ 30 นาที                    39          4          0 19. ขณะออกกำลังหายใจเร็วขึ้นกว่าปกติและเหงื่อซึม    37          6          0 20. ทุกครั้งวัดรอบเอวได้ไม่เกินเกณฑ์อ้วนลงพุง คือ เพศหญิงไม่เกิน 80 ซม. และเพศชายไม่เกิน 90 ซม.    12          13 18

จากตารางการประเมินตนเอง พบว่า กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นประจำทุกคน คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) การเลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ปฏิบัติเป็นประจำรองลงมา จำนวน 40 คน คือ พฤติกรรมอารมณ์ดี ไม่เครียด และปฏิบัติเป็นประจำน้อยที่สุด จำนวน 10 คน คือ พฤติกรรมการดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นครั้งคราวมากที่สุด จำนวน 31 คน คือ พฤติกรรมการกินปลา อย่างน้อยวันละ 1 มื้อ กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นครั้งคราวรองลงมา จำนวน 28 คน คือ พฤติกรรมการดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว และไม่มีการปฏิบัติเป็นครั้งคราวเลย คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) การเลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และการนอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมายไม่เคยปฏิบัติเลยมากที่สุด จำนวน 18 คน คือ ทุกครั้งวัดรอบเอวได้ไม่เกินเกณฑ์อ้วนลงพุง คือ เพศหญิงไม่เกิน 80 ซม. และเพศชายไม่เกิน 90 ซม. ไม่เคยปฏิบัติเลยรองลงมา จำนวน 8 คน คือ พฤติกรรมการกินผลไม้วันละ 2-3 ส่วน (หนึ่งส่วนเท่ากับ 6-8 คำ)และไม่มีการไม่เคยปฏิบัติเลย คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) กินอาหารหลากหลาย ไม่ซ้ำซาก กินผักมากกว่าวันละ 3 ทัพพี หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง เลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อารมณ์ดี ไม่เครียด นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน ออกกำลังวันละ 30 นาที และขณะออกกำลังหายใจเร็วขึ้นกว่าปกติและเหงื่อซึม

 

กิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม 8 มี.ค. 2562 14 มี.ค. 2562

 

ทำกิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม

 

ช่วยสร้างความผ่อนคลาย เสียงหัวเราะ ได้ขยับร่างกาย สร้างรอยยิ้มให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น 8 มี.ค. 2562 14 มี.ค. 2562

 

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น

 

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

 

อบรมให้ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม 15 มี.ค. 2562 15 มี.ค. 2562

 

อบรมให้ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมกับโรคกับวัยและถูกคุณลักษณะ 15 มี.ค. 2562 15 มี.ค. 2562

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมกับโรคกับวัยและถูกคุณลักษณะ

 

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

 

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น 15 มี.ค. 2562 15 มี.ค. 2562

 

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น

 

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

 

กิจกรรมนันทนาการ 15 มี.ค. 2562 15 มี.ค. 2562

 

ทำกิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม

 

ช่วยสร้างความผ่อนคลาย เสียงหัวเราะ ได้ขยับร่างกาย สร้างรอยยิ้มให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม