กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมนันทนาการ15 มีนาคม 2562
15
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทำกิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ช่วยสร้างความผ่อนคลาย เสียงหัวเราะ ได้ขยับร่างกาย สร้างรอยยิ้มให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมกับโรคกับวัยและถูกคุณลักษณะ15 มีนาคม 2562
15
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดบ้านให้เหมาะสมกับโรคกับวัยและถูกคุณลักษณะ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

อบรมให้ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม15 มีนาคม 2562
15
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้เรื่องอนามัยสิ่งแวดล้อม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น15 มีนาคม 2562
15
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

กิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม14 มีนาคม 2562
14
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทำกิจกรรมนันทนาการเตรียมความพร้อม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ช่วยสร้างความผ่อนคลาย เสียงหัวเราะ ได้ขยับร่างกาย สร้างรอยยิ้มให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค การนอน นาฬิกาชีวิต ชีวจิตสร้างสุข14 มีนาคม 2562
14
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค การนอน นาฬิกาชีวิต ชีวจิตสร้างสุข

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประเมินตนเองในเรื่องพฤติกรรมการกิน การออกกำลังกาย และอารมณ์ มีจำนวนคำถามทั้งหมด 20 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน ได้คะแนน ดังนี้

พฤติกรรมที่ปฏิบัติ ความถี่การปฏิบัติ                                     ประจำ        ครั้งคราว      ไม่เคยเลย
                                      (จำนวนคน)  (จำนวนคน)    (จำนวนคน) 1. กินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม )    43          0          0 2. กินอาหารหลากหลาย ไม่ซ้ำซาก                30          13          0 3. กินผักมากกว่าวันละ 3 ทัพพี                    30          13            0 4. กินผลไม้วันละ 2-3 ส่วน (หนึ่งส่วนเท่ากับ 6-8 คำ)    25          10          8 5. กินปลา อย่างน้อยวันละ 1 มื้อ                11            31          2 6. กินเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน สัปดาห์ละ 2-3 มื้อ            13          27          3 7. ดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว                10          28          5 8. กินอาหารมื้อเย็นห่างจากเวลานอนไม่น้อยกว่า 4 ชั่วโมง  18          19          6 9. กินอาหารประเภทต้ม นึ่ง ลวก อบ                18          19          6 10. หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง                    40          3          0 11. หลีกเลี่ยงของหวาน และขนมที่มีแป้งและน้ำตาลมาก    37          3          3 13. เลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน        43          0          0 14. หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์            43          0          0 15. อารมณ์ดี ไม่เครียด                        40          3          0 16. นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง            43          0          0 17. ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน                    39          4          0 18. ออกกำลังวันละ 30 นาที                    39          4          0 19. ขณะออกกำลังหายใจเร็วขึ้นกว่าปกติและเหงื่อซึม    37          6          0 20. ทุกครั้งวัดรอบเอวได้ไม่เกินเกณฑ์อ้วนลงพุง คือ เพศหญิงไม่เกิน 80 ซม. และเพศชายไม่เกิน 90 ซม.    12          13 18

จากตารางการประเมินตนเอง พบว่า กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นประจำทุกคน คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) การเลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ปฏิบัติเป็นประจำรองลงมา จำนวน 40 คน คือ พฤติกรรมอารมณ์ดี ไม่เครียด และปฏิบัติเป็นประจำน้อยที่สุด จำนวน 10 คน คือ พฤติกรรมการดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นครั้งคราวมากที่สุด จำนวน 31 คน คือ พฤติกรรมการกินปลา อย่างน้อยวันละ 1 มื้อ กลุ่มเป้าหมายได้ปฏิบัติเป็นครั้งคราวรองลงมา จำนวน 28 คน คือ พฤติกรรมการดื่มนมขาดมันเนย วันละ 1-2 แก้ว และไม่มีการปฏิบัติเป็นครั้งคราวเลย คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) การเลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และการนอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง กลุ่มเป้าหมายไม่เคยปฏิบัติเลยมากที่สุด จำนวน 18 คน คือ ทุกครั้งวัดรอบเอวได้ไม่เกินเกณฑ์อ้วนลงพุง คือ เพศหญิงไม่เกิน 80 ซม. และเพศชายไม่เกิน 90 ซม. ไม่เคยปฏิบัติเลยรองลงมา จำนวน 8 คน คือ พฤติกรรมการกินผลไม้วันละ 2-3 ส่วน (หนึ่งส่วนเท่ากับ 6-8 คำ)และไม่มีการไม่เคยปฏิบัติเลย คือ พฤติกรรมการกินอาหารครบ 5 หมู่ (ข้าว ผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ นม ) กินอาหารหลากหลาย ไม่ซ้ำซาก กินผักมากกว่าวันละ 3 ทัพพี หลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง เลือกดื่มน้ำเปล่าแทนน้ำอัดลมหรือน้ำหวาน หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ อารมณ์ดี ไม่เครียด นอนหลับไม่น้อยกว่าวันละ 7-8 ชั่วโมง ออกกำลังสัปดาห์ละ 5 วัน ออกกำลังวันละ 30 นาที และขณะออกกำลังหายใจเร็วขึ้นกว่าปกติและเหงื่อซึม

กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการอารมณ์14 มีนาคม 2562
14
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการอารมณ์

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

    ก่อนการอบรม          หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21  48.84    8  14  32.56   8  12    27.91    9  17  39.53   9  6  13.95    10  12  27.91   10  4    9.30
รวม 43  100    รวม  40  100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น14 มีนาคม 2562
14
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น13 มีนาคม 2562
13
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการสังเกตกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 43 คน พบว่า กลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการอบรมฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น โดยได้ปฏิบัติตามวิทยากรอย่างถูกต้อง แต่เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้สูงวัยค่อนข้างมาก ทำให้การทำท่างทางในบางท่าที่มีการใช้ข้อเข่า อาจจะปฏิบัติได้ไม่สวยเหมือนดังวิทยากร ซึ่งในการฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น วิทยากรได้สอนรำ 24 ท่า ซึ่งกลุ่มเป้าหมายก็มีความรู้อยู่บ้างแล้ว แต่ก็มีกลุ่มเป้าหมายบางรายที่ไม่ได้ออกไปรำไท้เกีกอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ลทำท่าทางได้ไม่สวย และเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ฝึกทักษะได้ถูกต้อง วิทยากรได้ฝึกสอนทักษะแต่ละท่าทางไปอย่างช้า หากกลุ่มเป้าหมายทำไม่ได้ก็จะทวนท่าซ้ำๆไปอย่างช้าๆจนกลุ่มเป้าหมายทำได้ดี ซึ่งในระหว่างฝึกทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็น ก็ได้มีการหยุดพักระหว่างทำกิจกรรม เพราะในการฝึกทักษะไท้เก๊กนี้ใช้พลังงานเยอะทำให้กลุ่มเป้าหมายบางคนเหนื่อยและมีเหงื่อออกจำนวนมาก แต่กลุ่มเป้าหมายก็สามารถปฏิบัติทักษะไท้เก๊กสมาธิอุบาย วิธีสู่ความสงบเย็นได้ถูกต้อง

อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค สาธิตเมนูสุขภาพ13 มีนาคม 2562
13
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค สาธิตเมนูสุขภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

    ก่อนการอบรม          หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21  48.84    8  14  32.56   8  12    27.91    9  17  39.53   9  6  13.95    10  12  27.91   10  4    9.30
รวม 43  100    รวม  40  100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

อบรมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหาร อาหารสุขภาพ13 มีนาคม 2562
13
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้เรื่องการรับประทานอาหาร อาหารสุขภาพ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28

อบรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง13 มีนาคม 2562
13
มีนาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนเทศบาลตำบลฉลุง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

อบรมให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากการประเมินความรู้ก่อน-หลัง เรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ สู่พฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้อง มีจำนวนคำถามทั้งหมด 10 ข้อ พบว่ากลุ่มเป้าหมายได้คะแนน ดังนี้

      ก่อนการอบรม                  หลังการอบรม คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ คะแนนที่ได้ จำนวนคน คิดเป็นร้อยละ   7  21      48.84        8  14  32.56   8  12      27.91        9  17  39.53   9  6  13.95      10  12  27.91   10  4      9.30
  รวม  43      100        รวม  40    100


จากตารางเปรียบเทียบคะแนนก่อน-หลังการอบรม พบว่า กลุ่มเป้าหมาย ก่อนการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 9.30 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 13.95 คะแนนน้อยที่สุดที่ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 และความถี่ที่ได้มากที่สุด คือ 7 คะแนน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 48.84 หลังการอบรม ได้คะแนนสูงสุดที่ 10 คะแนน จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 27.91 รองลงมา 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 คะแนนน้อยที่สุดที่ 8 คะแนน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 32.56 และความถี่ที่ได้มากที่สุดคือ 9 คะแนน จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 39.53 เมื่อนำมาเปรียบเทียบการประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 83.72 และมีความรู้เท่าเดิม จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 16.28