กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมฟื้นฟูอาสาสมัครผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงระยะยาว
รหัสโครงการ 62-L3321-3-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ.ในชุมชนตำบลปันแต
วันที่อนุมัติ 20 กุมภาพันธ์ 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2562 - 31 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 7,725.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมโชติ เพชรจันทร์
พี่เลี้ยงโครงการ นางพัทยา เพ็ชรสง
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2562 31 ส.ค. 2562 7,725.00
รวมงบประมาณ 7,725.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 25 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยพบการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรในปี 2557 มีผู้สูงอายุ 4 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งหมด) ในปี 2557 เพิ่มเป็น 10 ล้านคน (ร้อยละ 14.9 ) และคาดว่าในอีก 25 ปี ข้างหน้า จะเพิ่มขึ้น 20.5 ล้านคน (
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยพบการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากรในปี 2557 มีผู้สูงอายุ 4 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 6.8 ของประชากรทั้งหมด) ในปี 2557 เพิ่มเป็น 10 ล้านคน (ร้อยละ 14.9 ) และคาดว่าในอีก 25 ปี ข้างหน้า จะเพิ่มขึ้น 20.5 ล้านคน (ร้อยละ31.1) และมีอัตราส่วนวัยแรงงานต่อผู้สูงอายุลดลงจาก 6:1 ในปี 2553 จะเหลือวัยแรงงาน 2 คน ต่อผู้สูงอายุ 1 คนในปี 2553 ซึ่งจะส่งผลกระทบในวงกว้าง ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและการให้บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ซึ่งจะมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคและปัญหาสุขภาพ ได้ถึงร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุทั้งหมด ในขณะที่ผู้สูงอายุเพียงร้อยละ 57 ที่เข้าถึงระบบบริการดูแลสุขภาพได้ และร้อยละ 62 ของผู้สูงอายุทั้งหมดมีปัญหาด้านสายตาและการมองเห็นซึ่งร้อยละ 44 ของผู้มีปัญหาสายตาและการมองเห็นจำเป็นต้องใช้แว่นตา แต่ยังไม่มีแว่นตาใช้ ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุข ได้คัดกรองเพิ่มจำแนกกลุ่มผู้สูงอายุตามภาวะพึ่งพิงและประเมินความด้านการสนับสนุนบริการ และจัดบริการด้านสุขภาพและสังคม จำนวน 6,394,022 ราย จำแนกเป็นกลุ่มติดสังคมประมาณ 5 ล้านคน และกลุ่มติดบ้านติดเตียงประมาณ 1.3 ล้านคน ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องจากทีมหมอครอบครัว กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทุกกลุ่ม นโยบายสำคัญคือ การทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง ชะลอการเกิดโรคและความเจ็บป่วยจนต้องอยู่ในภาวะพึ่งพิง และวางระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงให้ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี ดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดการ การดูแลผู้สูงอายุระยะยาวจนเป็นเรื่องสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล (long term Car)“รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” จัดระบบการดูแลที่มีประสิทธิภาพยั่งยืน ในเขตตำบลปันแต มีทั้งสิ้น 13 หมู่บ้าน มีผู้สูงอายุ จำนวน 1,182 คน จากการสำรวจ ณ ตุลาคม 2561 มีผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง จำนวน 39 คน ซึ่งตำบลปันแต เป็นพื้นที่เป้าหมายในการดำเนินตามโครงการด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบลปันแต (long term care ) “รวมพลังขับเคลื่อนสังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ (Care Giver) ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะ ความมั่นใจในการดูแลผู้สูงอายุ ข้อ 2 เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาวในชุมชน ให้เหมาะสมตามบริบท ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายใน ชุมชน

ข้อที่ 1 ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนให้เหมาะสมตามบริบท ข้อที่ 2 Care Giver มีความรู้ ความเข้าในและมีทักษะ ความมั่นใจ ในการดูแลผู้สูงอายุ

0.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 8,575.00 0 0.00
??/??/???? จัดอบรม 0 8,575.00 -

กิจกรรมหลัก จัดกิจกรรมอบรมจำนวน 1 วัน 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและผู้จัด จำนวน 25 คน x2มื้อ x 25 บาทเป็นเงิน 1,250 บาท 2. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ x 25 คน x 50 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท
3. ค่าวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง x 300 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการฝึกอบรม
- ปากกา จำนวน 17 เล่ม x 10 บาท เป็นเงิน 170 บาท
- สมุด จำนวน 17 เล่ม x 20บาท เป็นเงิน340บาท
-ปากกาลบคำผิด จำนวน 17 เล่ม 30 บาท เป็นเงิน 510บาท
แฟ้มอ่อนใส่เอกสาร จำนวน 17 เล่ม x 20 บาท เป็นเงิน 340 บาท -กระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 17 ใบ x 170 บาท เป็นเงิน 2,890 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 25 บาท

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. Care Giver มีความรู้ ความเข้าในและมีทักษะ ความมั่นใจ ในการดูแลผู้สูงอายุ
  2. ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนให้เหมาะสมตามบริบท
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ก.พ. 2562 13:34 น.