กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพฟันดี
รหัสโครงการ 60/L2535/1/07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.ปาเสมัส
วันที่อนุมัติ 28 พฤศจิกายน 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 27,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ รพ.สต.ปาเสมัส
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวสาลินี จงเจตดี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.054,101.975place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 105 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ช่องปากประตู่สู่สุขภาพ การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีและเหมาะสมนับว่ามีส่วนสำคัญที่จะนำไปสู่ร่างกายที่สมบูรณ์ หากสุขภาพช่องปากมีปัญหาย่อมส่งผลให้ระบบร่างกายนั้นมีปัญหาตามไปด้วย การดูแลด้วยการรักษาโรคนับว่าเป็นทางออกขั้นสุดท้ายในการแก้ไขปญหา สำหรับการดูแลสุขภาพที่ดีนั้นคือการป้องกันโรค ปัญหาสุขภาพช่องปากนับเป็นปัญหาหนึ่งที่ต้องการได้รับการป้องกัน จากการตรวจสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็ก พบวาาโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก และอัตราการผุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงอายุ 1-3 ปี สาเหตุหลักทีทำให้เด็กมีฟันผุ มาจากพฤติกรรมของมารดาในการเลี้ยงดูบูตรที่ไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ผลการสำรวจภาวะทันตสาธารณสุขในเด็ดนักเรียนที่เข้ารับการตรวจฟัน เขตรพ.สต ปาเสมัส ปี 2558-2559 พบมีปัญหาสุขภาพช่องปาก มีฟันผุเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 910.50 - 88.00 ระดับปัญหาลดลงแต่ยังจัดอยู่ในระดับสูง ดังนั้นเพื่อภาวะสุขภาพช่องปากที่ดีของคนในชุมชน ทางฝ่ายทันตสาธารณสุขได้เห็นถึงความสำคัญของปํญหาสุขภาพช่องปากที่พบและต้องร่วมกันแก้ไขปัญหา จึงได้จัดโครงการ หนูน้อยสุขภาพฟันดี เพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองเกิดความรักฟัน และให้ความสำคัญและใส่ใจเรื่องฟันที่จำเป็นในชีวิตตั้งแต่เด็กจนถึงวัยสูงอายุ เพื่อมีฟันน้ำนมที่สวย สะอาดต่อเนื่องไปถึงฟันแท้อนาคต

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. ผู้ปกครองเด็ก 0 - 2 ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากลูกที่ถูกต้องเหทาะสม และฝึกปฏิบัติแปรงฟันจริง ร้อยละ 80

 

2 2. ผู้ปกครองเด็กใน ศพด. และครูดูแลเด็ก ได้รับการอบรมด้านยการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพอก่เด็กร้อยละ 100

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ขั้นเตรียมการ
    1.1 จัดประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง 1.2 ศึกษา สำรวจข้อมูลพื้นฐานของปัญหาด้านทันตสุขภาพกลุ่ม เด็กนักเรียน 1.3 ระบุปัญหาทันตสุขภาพ
    • วิเคราะห์ข้อมูล
    • นำเสนอข้อมูลและระบุปัญหาร่วมกันเสนอความคิดเห็น 1.4 จัดลำดับความสำคัญของปัญหาและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
    • จัดลำดับความสำคัญของปัญหาร่วมกัน
    • เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
    • การเชื่อมโยงปัญหา
    • การกำหนดทางเลือกในแก้ไขปัญหา
    • การกำหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
    • ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.ขั้นดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1

- ฝึกทักษะผู้ปกครองในการทำความสะอาดช่องปากแก่เด็กและให้ทันตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครองตลอดจนทาฟลูออไรด์แก่เด็กที่มารับบริการที่มารับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในสถานบริการและในชุมชน กิจกรรมที่2 - อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กใน ศพด. - ประกวดหนูน้อยฟันสวยตำบลปาเสมัส

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองมีความรู้และทักษะในการดุแลเด็กเกี่ยวกับการทำความสะอาดช่องปากที่ถูกวิธิและเหมาะสม
2.เด็กนักเรียนมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 พ.ย. 2559 14:49 น.