กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์


“ โครงการควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า ในปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลเลาะ ตาเละ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า ในปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L8420-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า ในปีงบประมาณ 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า ในปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า ในปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L8420-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะโละกาโปร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลายเป็นเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง เป็นโรคติดต่ออันตรายที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มักพบการระบาดในฤดูฝน แต่สามารถพบได้ตลอดทั้งปี พบมากในเด็กอายุ 5 - 14 ปี ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงลอยตลอดเวลา หน้าแดง ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร อาเจียน ซึม ซึ่งถ้าป่วยแล้วทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก และถ้ารักษาไม่ทันอาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ พื้นที่ตำบลตะโละกาโปร์ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ตำบลตะโละกาโปร์ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีจำนวนหมู่บ้าน 5 หมู่บ้าน จำนวน 1,576 หลังคาเรือน โรงเรียน 5 แห่ง การดำเนินงานที่ผ่านมาชุมชนได้ดำเนินการตามกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขที่สำคัญหลายประการเพื่อเป็นการเสริมสร้างสุขภาพ ควบคุม และป้องกันโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า โดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในชุมชน ร่วมดำเนินการในการควบคุมแและป้องกันโรค แต่ทั้งนี้ยังพบว่าประชาชนในบางหมู่บ้านยังขาดความเข้าใจ และดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง ไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหาในชุมชน และขาดทีมงานที่มีประสิทธิภาพ จากต้นปีงบประมาณที่ผ่านมาจะพบว่าจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่าตำบลตะโละกาโปร์มีจำนวนที่สูงขึ้นจากปีที่ผ่านมาจากเดิมปี 2561 พบผู้ป่วยแคา 6 รายโดยทั้ง 6 รายเป็นไข้เลือดออกส่วนชิกุนคุนย่ายังไม่พบ ส่วนปีนี้มีผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออกจำนวนทั้งหมด 14 ราย ชิกุนคุนย่า 31 ราย โดยพบว่า หมู่ที่ 1 มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก 7 ราย ชิกุนคุนย่าจำนวน 7 ราย หมู่ที่ 2 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือกออก จำนวน 3 ราย ชิกุนคุนย่า จำนวน 11 ราย หมู่ที่ 3 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 1 ราย ชิกุนคุนย่า จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 4 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 2 ราย ชิกุนคุนย่า จำนวน 3 ราย และหมู่ที่ 5 จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 1 ราย ชิกุนคุนย่า จำนวน 5 ราย จะเห็นได้ว่าอัตราบุบัติการณ์จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะโละกาโปร์ ได้ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นให้ชุมชน ประชาชนโรงเรียน มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา โดยเน้นการระดมทรัพยากรจากหน่วยงานในท้องถิ่น จึงได้จัดทำโครงการควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนยา ประจำปีงบประมาณ 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการควบคุมโรคไข้เลือออกและชิกุนคุนย่า โดยอาศัยกลุ่มบุคลากรในชุมชน เช่น ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนสถานศึกษา ตัวแทนภาคประชาชน ตัวแทนระดับหมู่บ้าน
  2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนักถึงปัญหา สาเหตุ และร่วมดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่าอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความสะอาดของบ้านเรือน/ชุมชน
  2. กิจกรรมที่ 2 สัปดาห์รณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า
  3. กิจกรรมที่ 3 เตรียมความพร้อมเมื่อมีโรคระบาดในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย มีกิจกรรมรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่องทั้งในระดับสถานศึกษาและหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความสะอาดของบ้านเรือน/ชุมชน

วันที่ 1 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความสะอาดของบ้านเรือน/ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความรู้ความเข้าใจตรงกัน

 

75 0

2. กิจกรรมที่ 2 สัปดาห์รณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า

วันที่ 1 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

สัปดาห์รณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถควบคุมโรคได้

 

65 0

3. กิจกรรมที่ 3 เตรียมความพร้อมเมื่อมีโรคระบาดในพื้นที่

วันที่ 1 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เตรียมความพร้อมเมื่อมีโรคระบาดในพื้นที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ช่วยอาการเจ็บป่วยได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการควบคุมโรคไข้เลือออกและชิกุนคุนย่า โดยอาศัยกลุ่มบุคลากรในชุมชน เช่น ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนสถานศึกษา ตัวแทนภาคประชาชน ตัวแทนระดับหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนักถึงปัญหา สาเหตุ และร่วมดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่าอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการควบคุมโรคไข้เลือออกและชิกุนคุนย่า โดยอาศัยกลุ่มบุคลากรในชุมชน เช่น ประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตัวแทนสถานศึกษา ตัวแทนภาคประชาชน ตัวแทนระดับหมู่บ้าน (2) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในพื้นที่ได้ตระหนักถึงปัญหา สาเหตุ และร่วมดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่าอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความสะอาดของบ้านเรือน/ชุมชน (2) กิจกรรมที่ 2 สัปดาห์รณรงค์ควบคุม ป้องกันโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า (3) กิจกรรมที่ 3 เตรียมความพร้อมเมื่อมีโรคระบาดในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมการระบาดโรคไข้เลือดออกและชิกุนคุนย่า ในปีงบประมาณ 2562 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L8420-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลเลาะ ตาเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด