กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า


“ โครงการสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562 ”

ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุพัตรา ชุมแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1473-01-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1473-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคที่พบในประเทศเขตร้อน และเขตอบอุ่นโดยเฉพาะในแถบ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลาตินอเมริกา หมู่เกาะแคริบเบียน และหมู่เกาะแปซิฟิก สำหรับ ประเทศไทย โรคนี้ส่วนใหญ่ พบในช่วงฤดูฝนตั้งแต่เดือนพฤษภาคม จนถึงเดือนตุลาคมของทุกปี ปัจจุบันเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกซึ่งกำลังแผ่ระบาดอย่างหนัก และได้คร่าชีวิตผู้คนไปเป็นจำนวนมาก ซึ่งนำความสูญเสียแก่หลายครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติที่ต้องสูญเสียบุคลากรที่ส่วนใหญ่เป็นเยาวชน อันเป็นอนาคตของประเทศต่อไป
จากรายงานเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561  สสจ.ตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรค ไข้เลือดออกรวม (26,27,66) จำนวนทั้งสิ้น 636 ราย คิดเป็นอัตราป่วย  101.30 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 2 ราย  อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ  0.32  อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ 0.31     พบผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยพบเพศหญิง327 ราย เพศชาย 309 ราย อัตราส่วนเพศหญิงต่อเพศชาย เท่ากับ 1.06 : 1   กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 15 - 24 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 196 ราย รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 10 - 14 ปี,25 - 34 ปี,5 - 9 ปี,35 - 44 ปี, 45 - 54 ปี, 55 - 64 ปี,0 - 4 ปี และ 65 ปี ขึ้นไป จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 121,94,73,64,26, 25, 24 และ 13 ราย ตามลำดับ
    อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 327 ราย รองลงมาคือ  อาชีพรับจ้าง,  อาชีพเกษตร,  อาชีพ นปค.  อาชีพอื่นๆ,  อาชีพค้าขาย,  อาชีพงานบ้าน,  อาชีพราชการ,  อาชีพทหาร/ตำรวจ,  อาชีพบุคคลากรสาธารณสุข,  อาชีพนักบวช,  อาชีพครู,  อาชีพประมง,  อาชีพอาชีพพิเศษ,  อาชีพเลี้ยงสัตว์, จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 114,77,58,16,16,14,6,4,1,1,1,1,0,0, ราย ตามลำดับ
    พบผู้ป่วยสูงสุดในเดือน สิงหาคมจำนวนผู้ป่วย เท่ากับ 115 ราย จำนวนผู้ป่วยเดือนนี้( ธันวาคม ) มากกว่าเดือนที่แล้ว (พฤศจิกายน) จำนวนผู้ป่วยเดือนนี้ ( ธันวาคม ) เท่ากับ 42 ส่วนเดือนที่แล้ว (พฤศจิกายน ) เท่ากับ 40 ราย  โดยมีรายงานผู้ป่วยเดือน มกราคม 30 ราย กุมภาพันธ์ 16 ราย มีนาคม 21 ราย เมษายน 38 ราย พฤษภาคม 42 ราย มิถุนายน 81 ราย กรกฎาคม 102 ราย สิงหาคม 115 ราย กันยายน 64 ราย ตุลาคม 45 ราย พฤศจิกายน 40 ราย ธันวาคม 42 ราย
      จึงจำเป็นต้องช่วยกันรณรงค์ให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้โดยด่วน และให้ทราบถึงวิธีป้องกันตัวเองไม่ให้เป็นโรคไข้เลือดออกอีกด้วยและ สถานีอนามัยตำบลโคกสะบ้าจึงได้จัดทำโครงการโครงการสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีสุขภาพดี ไม่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
    2. เกิดมาตรการป้องกันโรคในครัวเรือนและในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : บรรลุตามวัตถุประสงค์
    1.00

     

    2 เพื่อประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : บรรลุตามวัตถุประสงค์
    1.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสื่อประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออก ปี 2562 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ L1473-01-001

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสุพัตรา ชุมแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด