กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอรุณ เอ็มดู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5312-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,169.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การอบรมบ่มเพาะเด็กปฐมวัยนั้นมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการสร้างรากฐานของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ในก้าวย่างแรกของการเรียนรู้โลกในศตวรรษที่ 21 ต้องการทักษะสำคัญเพื่อการก้าวสู่วิถีสุขภาวะ รวมไปถึงทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม ทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมใหม่ ทักษะด้านสื่อสารสนเทศ และเทคโนโลยี เด็กในทศวรรษที่ 21 จึงควรมีทักษะที่ยึดหยุ่นและสามารถปรับตัวได้ริเริ่มเรียนรู้ได้ด้วยตนเองมีความรับผิดชอบ ตลอดจนมีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบต่อตนเองได้   ช่วงอายุ 2 ปี แรกเกิดจึงเป็นโอกาสทองของเด็กทุกคนที่ควรจะได้รับการกระตุ้นประสาทสัมผัสเพื่อพัฒนาสมองให้สร้างเส้นใยประสาทให้ได้มากที่สุดและเพื่อให้เกิดการเรียนได้เต็มศักยภาพของเด็กแต่ละคน ในทางตรงข้ามถ้าสมองไม่ได้รับการกระตุ้นในช่วงนี้ก็จะก่อให้เกิดช่องว่างของใยประสาท สมองพัฒนาได้ไม่เต็มที่ ส่งผลให้ศักยภาพการเรียนรู้ลดลง นั้นคือเราเปลี่ยนโครงสร้างของสมองได้ด้วยการเรียนรู้ผ่านการกระตุ้น การสร้างวงจรในเซลล์สมองเป็นการโยงใยภายในเซลล์ต่างๆของสมองโดยเฉพาะในช่วง 5 ปี แรกของชีวิตเด็ก ถ้าสมองถูกกระตุ้นมาก เกิดการเรียนรู้ สมองก็จะจัดระเบียบใยประสาทเพิ่มการเชื่อมต่อใหม่ๆขึ้นเป็นจำนวนมากนั้นคือเราเปลี่ยนโครงสร้างสมองได้ด้วยการเรียนรู้ผ่านการกระตุ้นการสร้างวงจรในเซลล์สมอง เป็นการโยงใยภายในเซลล์ต่างๆของสมอง โดยเฉพาะในช่วง 5 ปี แรกของชีวิตเด็ก ถ้าสมองถูกกระตุ้นมาก เกิดการเรียนรู้มาก
  ด้านสุขภาวะทางกายของเด็ก ภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหารในเด็ก เป็นปัญหาสำคัญที่ควรให้ความสำคัญและทุกคนจะต้องร่วมมือกันเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างจริงจัง ปี 2557 องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization, FAO) ระบุว่าประเทศไทยมีสถานการณ์ปัญหาในด้านภาวะโภชนาการรุนแรง โดยจัดไอยู่ในกลุ่ม B : Child Micronutrient Deficiency กลุ่มที่เด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กไทยวัยเรียน ผอม เตี้ย อ้วน เพราะพฤติกรรมทางโภชนาการและสุขภาพที่ไม่พึงประสงค์ การกินอาหารไม่ครบ 3 มื้อ กินผัก ผลไม้น้อยลง การบริโภคขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลมเพิ่มขึ้น และกิจกรรมทางกายและการออกกำลังกายน้อยลง ล้วนเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็ก ส่งผลให้เด็กมีปัญหาภาวะทุพลโภชนาการทั้งขากและเกิน ผลกระทบของการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอจะส่งผลให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายและสติปัญญาช้าไม่เต็มศักยภาพที่ควรเป็น ซึ่งเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปากน้ำน้ำก็มีเด็กที่มีปัญหาด้านภาวะโภชนาการเกินและภาวะขาดสารอาหาร   การพัฒนาของเด็กปฐมวัยถือว่ามีความสำคัญต่อการพัฒนาในด้านต่างๆทั้งทิศทางด้านทัศนคติ การพัฒนาการทางอารมณ์ การพัฒนาด้านทักษะการับรู้ทางด้านสมองระบบประสาทต่างๆ ซึ่งการจัดระบวนการเรียนรู้ในวัยนี้มีความสำคัญ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ ที่เด็กๆจะได้รับการพัฒนาสมอง การเรียนรู้ บุคลิกภาพ ทักษะชีวิต รวมทั้งการปลูกฝังการเป็นพลเมืองเด็กผ่านกระยวนการเรียนรู้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู จึงมีบทบาทสำคัญในการยกระดับการพัฒนาศักยภาพของเด็ก ดังนั้นการจัดกิจกรรมเป็นการเสริมสร้างการเรียนรู้และการมีพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ ตลอดจนทักษะและทัศนคติของครูและพี่เลี้ยงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงมีความสำคัญต่อการพัฒนาสุขภาวะที่ดีในทุกมิติของเด็กเล็ก
  ประกอบกับกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นมีนโยบายส่งเสริมการเรียนรู้เด็กปฐมวัยให้มีการพัฒนาการสมบูรณ์ตามวัยครบทั้งสี่ด้าน ได้แก่ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ผ่านการเล่นสนามเด็กเล่นสร้างปัญญาตามโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ท้องถิ่นไทยผ่านการเล่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการสร้างสนามเด็กเล็กเล่นสร้างปัญญาเพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยในทองถิ่นมีพัฒนาการสมบูรณ์ ตามวัยผ่านการเล่น “สนามเด็กเล่นสร้างปัญญา” มีลักษณะเป็นการปลูกฝังการเรียนรู้ที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ในสิ่งที่ใช้ได้จริง รวมถึงการเล่นตามรอยพระยุคลบาท มาปรับใช้กับสนามเด็กเล่น
  ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จึงเป็นสถานที่ที่เด็กๆจะได้รับการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ สมอง การเรียนรู้ การปลูกฝัง การเป็นพลเมือง ที่ดี ให้เกิดทักษะชีวิตที่สอดคล้องกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ นำไปสู่การเติบโตอย่างมีสุขภาวะดีครบทุกด้านและเป็นพลเมืองดีของสังคม โดยเน้นพัฒนาการและการสร้างคุณสมบัติพึงประสงค์ที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
  และปัญหาสุขภาพและความปลอดภัย ย่อมเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือการเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว นอกจากนี้ยังขัดขวางต่อพัฒนาการของเด็กในทุกๆด้านอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเด็กปฐมวัย ปัญหาที่เกิดกับสุขภาพและความปลอดภัยของเด็ก  ยังรวมถึงความผิดปกติที่อาจติดตัวเด็กไปได้ตลอดชีวิต อาทิเช่น เด็กที่เป็นโรคขาดสารอาหารมักมีอัตราการเสียชีวิตที่สูง หรืออาจมีร่างกายแคระแกรน ไม่เจริญเติบโต และมีพัฒนาการที่ไม่สมวัย การช่วยเหลือ ป้องกัน และแก้ไขปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในเด็ก ย่อมมีความสำคัญต่อชีวิตและอนาคตของเด็ก และที่สำคัญคือ ครอบครัวของเด็กจะต้องเข้ามามีบทบาท และมีส่วนสำคัญในการดูแลให้
เด็กทุกคนได้กินดีอยู่ดี มีที่อยู่ ที่หลับนอนที่ปลอดภัย แต่ในความเป็นจริงแล้ว ยังมีอีกหลายครอบครัวที่รายได้ไม่เพียงพอจุนเจือสมาชิกใหม่ในครอบครัว ผู้ปกครองมีการศึกษาน้อย หรือมีถิ่นที่อยู่อาศัยในสภาวะแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของเด็ก ครอบครัวเหล่านี้จึงมีข้อจำกัดในการเลี้ยงดูเด็กให้เติบโตขึ้นมาได้อย่างเหมาะสม ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคม ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อเด็กโตขึ้น นอกจากจะมีปัญหาสุขภาพแล้ว พวกเขาเหล่านั้นยังอาจถ่ายทอดการเลี้ยงดูในแบบที่ตนเองได้รับไปสู่ลูกหลาน เป็นวงจรที่สร้างปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยไม่สิ้นสุด และไม่อาจได้รับการแก้ไขได้ จนกว่าชีวิตความเป็นอยู่ของครอบครัวเหล่านั้นจะดีขึ้น       ด้วยเหตุนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลปากน้ำ จึงต้องการมุ่งเน้นให้เห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาทั้งสี่ด้านของเด็ก    ทั้งการออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพของเด็ก การพัฒนากล้ามเนื้อ รวมทั้งการดำเนินการเตรียมความพร้อมตามมาตรการ การป้องกันติดต่อ เช่น ควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออก ฯลฯ อย่างเข้มข้นในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และชุมชน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ประจำปี 2562 ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และสร้างการมีส่วนร่วมของเด็กปฐมวัยครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ประกอบอาหาร และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัย และการรู้จักการดูแลสุขภาพร่างกายได้ด้วยตนเอง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัยที่ดี
  2. 2.เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้งสี่ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญ
  4. 4.เพื่อส่งเสริมและเพิ่มพูนความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยสำหรับเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3. กิจกรรม “ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย” พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก และกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการเด็ก
  2. 4.กิจกรรม “ฟันสะอาด เหงือกแข็งแรง”
  3. 5.กิจกรรม “ติดตามประมวลผลสุขภาพในช่องปากของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก”
  4. 2.กิจกรรมตรวจและคัดกรองด้านสุขภาพเด็กปฐมวัยอย่างเข้ม
  5. 1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหาร มีความเข้าใจหลักโภชนาการของเด็กปฐมวัย และสุขอนามัยที่ดี
  2. ผู้ปกครองและชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็ก
  3. เด็กปฐมวัยมีพื้นที่สำหรับพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสังคม ตามหลัก Development Surveillance and Promotion Manual (DSPM) การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
  4. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพอนามัยและประเมินสุขภาพอนามัยทุกคน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัยที่ดี
ตัวชี้วัด : - ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับ เด็กปฐมวัย อย่างน้อย 80% ได้รับความรู้ มีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัย และสามารถนำความรู้ความเข้าใจ ไปใช้เพื่อการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกวิธี และสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน ด้านสุขอนามัยต่างๆครบถ้วนทุกขั้นตอน
0.00

 

2 2.เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการป่วยของเด็กโรคติดต่อลดลงเป็นจำนวนอย่างน้อย 90% - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดำเนินการ Big cleaning day เดือนละ 1 ครั้ง
0.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้งสี่ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญ
ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างน้อย 90% รู้จักการออกกำลังกายเพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการแห่งวัยพร้อมมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน
0.00

 

4 4.เพื่อส่งเสริมและเพิ่มพูนความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยสำหรับเด็ก
ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจสุขภาพอนามัย ทุกคนโดยครูผู้ดูแลเด็ก
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหารและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัยที่ดี (2) 2.เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) 3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้งสี่ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญ (4) 4.เพื่อส่งเสริมและเพิ่มพูนความรู้ด้านการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยสำหรับเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3. กิจกรรม “ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย” พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก และกล้ามเนื้อมัดใหญ่ตามพัฒนาการเด็ก (2) 4.กิจกรรม “ฟันสะอาด เหงือกแข็งแรง” (3) 5.กิจกรรม “ติดตามประมวลผลสุขภาพในช่องปากของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก” (4) 2.กิจกรรมตรวจและคัดกรองด้านสุขภาพเด็กปฐมวัยอย่างเข้ม (5) 1 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5312-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรุณ เอ็มดู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด