กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ ปี2562 ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนิภา วีระกิติกุล

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ ปี2562

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-03-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ ปี2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ ปี2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ ปี2562 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-03-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคมทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ และบริบททางด้านสังคมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12(2560-2564) โดยสำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบุว่าโครงสร้างประชากรของประเทศไทยกำลังก้าวสู่การเป็นสังคมสูงวัย โดยผู้สูงอายุในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 10.3 ล้านคน(ร้อยละ 16.2) ในปี พ.ศ.2558 เป็น 20.3 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ในปี พ.ศ.2583 ซึ่งการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุวัยกลางและวัยปลาย จะส่งผลต่อความเสี่ยงการเกิดปัญหาสุขภาพในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(Non-communicable disease) และการบาดเจ็บ อันเนื่องมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม รวมถึงการถดถอยของการทำงานของอวัยวะในร่างกายต่างๆ อันเนื่องมาจากชราภาพ และภาวะค่าใช้จ่ายในการดูแลด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ดังนั้นการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัยและการปฏิรูประบบเพื่อสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ จึงเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม  ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12(2560-2564) โดยระบุให้มีการพัฒนาศักยภาพวัยสูงอายุให้มีการทำงานที่เหมาะสมตามศักยภาพและประสบการณ์ มีการสร้างเสริมและฟื้นฟูสุขภาพเพื่อป้องกันหรือชะลอความทุพพลภาพและโรคเรื้อรังต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดภาระแก่ปัจเจกบุคคล ครอบครัว และระบบบริการสุขภาพ และหากเป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง จำเป็นที่จะต้องมีญาติ/ผู้ดูแลที่มีความรู้ ความเข้าใจในความเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและจิตใจในผู้สูงอายุ และมีทักษะในการดูแลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม     ชุมชน เป็นกลุ่มคนที่มีความใกล้ชิดกับประชาชนทุกกลุ่มวัยรวมทั้งวัยสูงอายุมากที่สุด ดังนั้นการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนนั้น จึงต้องให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าร่วมในการดำเนินงานพัฒนา ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นกระบวนการ โดยที่ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่ง หรือทุกขั้นตอน ซึ่งมีความคิดเห็นและความรับผิดชอบร่วมกันต่อการดำเนินการพัฒนาการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุไปในทิศทางที่ต้องการ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่พึงประสงค์ สำหรับการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนนั้น โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ที่เรียกว่าเทคโนโลยีเพื่อการมีส่วนร่วม (Technology of Participation) ซึ่งเป็นวิธีการที่ช่วยให้ สมาชิกกลุ่มทุกคนได้ร่วมกันสรรค์สร้าง เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตี่ดีต่อไป     กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลพัทลุง ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการ”ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี2562”ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอาย
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง
  3. เพื่อให้ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มทำกิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ
  2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. ติดตามผู้สูงอายุหลังการอบรม3เดือน
  4. ติดตามผู้สูงอายุหลังการอบรม 6 เดือน
  5. สรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนเกิดการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอาย
  2. ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพตนเองอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง
  3. ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มทำกิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุเป็นชมรมผู้สูงอายุ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอาย
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชนและผู้สูงอายุเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการสามารถทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อให้ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มทำกิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ชุมชน เกิดการรวมกลุ่มเป็นชมรมผู้สูงอายุ และมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอาย (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง (3) เพื่อให้ชุมชนเกิดการรวมกลุ่มทำกิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ (2) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (3) ติดตามผู้สูงอายุหลังการอบรม3เดือน (4) ติดตามผู้สูงอายุหลังการอบรม 6 เดือน (5) สรุปและจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ ปี2562 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2562-L7572-03-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนิภา วีระกิติกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด