กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ


“ โครงกาารมหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระ ”

ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอิดดาเร๊ะ มาราสา

ชื่อโครงการ โครงกาารมหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระ

ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-1-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2562 ถึง 2 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงกาารมหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงกาารมหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงกาารมหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-1-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2562 - 2 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สืบเนื่องจากการปฏิรูประบบสุขภาพ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการจัดรูปแบบระบบบริการ โดยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายส่งเสริมสุขภาพประชากรทุกกลุ่มทุกอายุ กำหนดให้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ซึ่งเป็นหน่วยบริการที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนและประชาชนสามารถจะเข้าถึงบริการได้อย่างสะดวก มีบทบาทสำคัญในการ จะเป็นผู้ที่ดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง ทั้งในระดับตัวบุคคล ครอบครัวและชุมชน ก่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีเป็นกันเอง ไว้วางใจกันและเป็นส่วนหนึ่งของระบบในชุมชนนั้น อันจะนำไปสู่รูปธรรมของการสร้างสุขภาพ ซึ่งก่อผลดีทั้งในระดับตัวบุคคล ครอบครัว ชุมชน/ประเทศ สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ที่จะได้คนที่มีคุณภาพซึ่งเป็นต้นทุนทางสังคมที่สำคัญต่อไป ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและทีมเครือข่ายสุขภาพในชุมชน สามารถจัดบริการตอบสนองต่อความจำเป็นทางด้านสุขภาพของประชาชนขั้นพื้นฐาน มีความเชื่อมโยง ต่อเนื่องของกิจกรรมด้านสุขภาพในลักษณะองค์รวม ทั้งนี้เพื่อการสร้างสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ประชาชน เพื่อป้องกันหรือลดปัญหาที่ป้องกันได้ทั้งทางกาย จิต สังคม โดยประชาชนมีส่วนร่วม การจัดมหกรรมสุขภาพ และการนำนวัตกรรมมาแสดงเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผลงาน ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ต่อระบบบริการ ผู้ปฏิบัติงาน หรือผู้รับบริการ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระร่วมกับทีมเครือข่ายสุขภาพในชุมชนตำบลแป-ระ จึงได้จัดทำโครงการมหกรรมสุขภาพ ตำบลแป-ระ ปี 2562 ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้น ส่งเสริมให้มีการพัฒนาศักยภาพในด้านต่างๆ ของบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพในชุมชน เป็นการสร้างกระแสให้ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
  2. 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ และเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรม กิจกรรมด้านสุขภาพ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่รับทราบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ประชาชน เรื่อง กินอยู่ รู้คิด พิชิตโรค
  2. กิจกรรมจัดบูธนิทรรศการ มหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระเพื่อสร้างความตระหนักและให้ความรู้เกี่ยวกับการสาธารณสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เขียนโครงการมหกรรมสุขภาพ เพื่อเสนอของบประมาณ  เพื่อพิจารณาลงนามอนุมัติ
  2. ประชุมชี้แจง ทีมงาน เตรียมความพร้อมและวางแผนจัดมหกรรมสุขภาพ
  3. แจ้งแนวทางการจัดงานมหกรรมสุขภาพ ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้องทราบ   แนวทางปฏิบัติ
  4. ประสานพื้นที่ เครือข่ายสร้างสุขภาพทุกชมรม ทุกหมู่บ้านในเขตตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ
  5. ดำเนินการจัดมหกรรมสุขภาพ จำนวน 1 วัน โดยมีกิจกรรมดำเนินงานดังนี้ 5.1 ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เรื่อง กินอยู่ รู้คิด พิชิตโรค เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ 5.2 จัดบูธนิทรรศการต่างๆดังนี้ 1) บูธคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ดัชนีมวลกาย วัด รอบเอว คลินิกไร้พุง ลดเสี่ยง ลดโรค 2) บูธแพทย์แผนไทย แพทย์พื้นบ้าน มีบริการตรวจรักษาโรคทั่วไป คัดกรองข้อเข่าเสื่อม บริการแช่เท้า พอกเข่า อาหารและสมุนไพรสำหรับผู้สูงอายุ มีบริการน้ำสมุนไพรแจก
    3) บูธทันตสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก มีบริการตรวจฟัน  สอนวิธีการดูแลฟัน แจกแปรงสีฟัน 4) บูธนมแม่ เพื่อโภชนาการสมส่วนและพัฒนาการสมวัย ส่งเสริมและสนับสนุนให้ความสำคัญแก่พ่อแม่ ในการมีส่วนร่วมดูแลและส่งเสริมลูกน้อย ในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการที่สมส่วน และการเฝ้าระวังส่งเสริมพัฒนาการลูกน้อยอย่างสมวัย
    5) บูธควบคุมโรคติดต่อ จัดนิทรรศการ แจกทรายอะเบท โลชั่นกันยุง สเปรย์กันยุง แจก ถุงยางอนามัย
    6) บูธคุ้มครองผู้บริโภค บุหรี่ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สาธิตตรวจอาหาร ตรวจเครื่องสำอาง
    ตรวจหาสารสเตียรอย 7) บูธแม่และเด็ก มีกิจกรรมการให้ความรู้งานอนามัยแม่และเด็ก การเตรียมตัวก่อนการ ตั้งครรภ์ แจกยา Folic
    8) บูธการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ให้ความรู้การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
    9) บูธสุขภาพจิต กิจกรรมคัดกรองซึมเศร้า 2Q 9Q 8Q ปรึกษาปัญหาสุขภาพ 10) บูธจำหน่ายผักพื้นบ้าน สินค้า OTOP
    11) บูธสอยดาว ตอบปัญหาสุขภาพ           5.3 ติดตามกลุ่มเสี่ยงจากการคัดครองในวันมหกรรมสุขภาพ
    1. จัดกิจกรรมประกวดปิ่นโตอาหารสุขภาพ 7 .เชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
    2. สรุปประเมินผลโครงการ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ และเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรม กิจกรรมด้านสุขภาพ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่รับทราบ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
ตัวชี้วัด : 1.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 80 ของประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
80.00 80.00

ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ

2 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ และเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรม กิจกรรมด้านสุขภาพ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่รับทราบ
ตัวชี้วัด : 2.1 ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 90 ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ ที่เข้าร่วมกิจกรรมมหกรรมสุขภาพได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่รับทราบ
90.00 90.00

จ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ และเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรม กิจกรรมด้านสุขภาพ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่รับทราบ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 400 400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400 400
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆได้มีการรับทราบข้อมูลข่าวสารในกิจกรรมความรู้การสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ (2) 2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแป-ระ และเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรม กิจกรรมด้านสุขภาพ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนในพื้นที่รับทราบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่ประชาชน เรื่อง กินอยู่ รู้คิด พิชิตโรค (2) กิจกรรมจัดบูธนิทรรศการ มหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระเพื่อสร้างความตระหนักและให้ความรู้เกี่ยวกับการสาธารณสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงกาารมหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระ

รหัสโครงการ 62-1-003 ระยะเวลาโครงการ 20 มีนาคม 2562 - 2 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงกาารมหกรรมสุขภาพตำบลแป-ระ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-1-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอิดดาเร๊ะ มาราสา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด