กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังอาหารขยะในชุมชน เพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กและให้ความรู้ผู้ปกครอง
รหัสโครงการ 62-L2479-2-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียร์
วันที่อนุมัติ 20 ธันวาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2562 - 30 กันยายน 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 34,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางต่วนหม๊ะ สาวนิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
60.00
2 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
60.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

อาหารขยะในประเทศไทยมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ขนมกรุบกรอบ เบอร์เกอร์ เฟรนซ์ฟราย น้ำอัดลม ลูกกชิ้น ไส้กรอกและอีกมากมาย ซึ่งเป็นอาหารที่ไม่มีประโยชน์ และมีแต่จะส่งผลร้ายต่อร่างกายและสมอง แก่ผู้ที่รับประทานเข้าไป อาหารขยะหาซื้อได้ง่าย เพราะจะมีขายตามหน้าโรงเรียน ตลาด หรือตามเพิงขายของตามหมู่บ้าน อาหารขยะจะทำให้เด็กเป้นโรคอ้วน โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไตได้ จากสถิติของประเทศไทยปี 60 พบว่า เด็กไทยอ้วนเป็นที่2 ในอาเซียน และมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้น จังหวัดนราธิวาสมีเด็กไทยที่เป็นโรคอ้วนร้อยละ …12เนื่องจากมีการรับประทานอาหารขยะที่เพิ่มมากขึ้น และขาดการออกกำลังกาย ในเขต รพ.สต.บ้านไอสะเตียมีเด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 5
ด้วยเหตุนี้ทาง รพ.สต.บ้านไอสะเตียเล็งเห็นถึงอันตรายที่เกิดจากอาหารขยะ ซึ่งจะส่งผลต่อ สังคม และสุขภาพที่อาจเกิดโรค NCD ตั้งแต่อายุยังน้อย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

60.00 100.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

60.00 100.00
3 เพื่อลดการเกิดโรคจากอาหารขยะ...

 

0.00
4 เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กทราบถึงอันตรายของอาหารขยะ

 

0.00
5 เพื่อลดโรคอ้วนในเด็ก

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 34,200.00 0 0.00
??/??/???? กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 0 34,200.00 -
??/??/???? ลงประเมินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารขยะ ในหมูบ้านกลุ่มเป้าหมาย 4หมู่บ้าน 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กในชุมชนไม่เป็นโรคเรื้อรังจากอาหารขยะ…

2.ชุมชนกินอาหารขยะลดลง….

3.ผู้ปกครองและเด็กทราบถึงอันตรายจากอาหารขยะ

4.เด็กในชุมชนไม่เป็นโรคอ้วน และโรคไม่ติดต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 มี.ค. 2562 00:00 น.