กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการเด็กในศูนย์สุขภาพดีมีพัฒนาการสมวัย ”

ศพด บ้านนาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสุกัลยา สอเหลบ

ชื่อโครงการ โครงการเด็กในศูนย์สุขภาพดีมีพัฒนาการสมวัย

ที่อยู่ ศพด บ้านนาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5294-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กในศูนย์สุขภาพดีมีพัฒนาการสมวัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศพด บ้านนาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กในศูนย์สุขภาพดีมีพัฒนาการสมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กในศูนย์สุขภาพดีมีพัฒนาการสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ศพด บ้านนาทอน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5294-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต การที่เด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ ที่มีคุณภาพได้นั้น เด้กจะต้องมีการพัฒนาที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาจึงมีความจำเป็นที่เด็กจะต้องได้รับการพัฒนาตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาและต่อเนื่องไปจนถึงวัยรุ่น โดยเฉพาะพัฒนาการด้านสติปัญญญาและอารมณ์ ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตทั้งในปัจจุบันและอนาคต เด็กปฐมวัยเป็นช่วงที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งในด้านร่างกาย การเจริญเติบโตและพัฒนาการ จึงเป็นวัยที่มีความเสี่ยงสูงจากปัจจัยต่างๆที่จะส่งผลกระทบต่อเด็ก มีการคาดการณ์ว่าเด็กปฐมวัย (อายุแรกเกิด- 5 ปี ) ประมาณ 2 ล้านคนทั่งวโลกไม่สามารถพัฒนาด้านสติปัญญาได้อย่างเต็มศักยภาพจากปัญหาความยากจน ปัญหาสุขภาพ ปัญหาด้านโภชนาการและการดูแลที่บกพร่องไม่เหมาะสม และสำหรับในประเทศไทยได้กำหนดยุทธศาตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ซึ่งรัฐบาลได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาเด็กและเยาวชนโดยเฉพาะเด็กปฐมวัยได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กขึ้น เพื่อจะได้พัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคนให้มีการพัฒนาสังคมที่ให้ความสำัญในการพัฒนาคน โดยมุ่งเน้นพัฒนาเสริมสร้างคุณภาพชีวิตเด็ก เยาวชน ครอบครัวและชุมชนในตำบลนาทอนให้ดีขึ้นและด้านการพัฒนาการศึกษาโดยสนับสนุนการปฏิรูปการศึกษาเจตนารมณ์อห่งรัธรรมนูญและพรบ.การศึกษาแห่งชาติ พศ. 2550 ที่ต้องการให้เด็กเยาวชนเติบโตอย่างสมบูรณ์พร้อมทั้งทางด้านไอคิว อีคิว คือเด็กเป็นคนเก่ง คนดีและมีความสุข ดังนั้นเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กจึงเป็นเด็กกลุ่มหนึ่งที่ต้องมีการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตขึ้นและมีความจำเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องตระหนักและร่วมมือกันส่งเสริมการเจริญเติบโต สุขภาพอนามัย และพัฒนาการรวมทั้งไอคิว อีคิวของเด็ก เนื่องจากสภาพสังคมและเศรษฐกิจในปัจจุบันเปลี่ยนแปลง ทำให้พ่อแม่ ผู้ปกครองประสบปัญหาการเลี้ยงดูบุตรหลาน เพราะต้องใช้เวลาเพื่อประกอบอาชีพไม่ให้ความสำคัญของอาหารเช้าและเกลือที่มีผลต่อสมอง ทำให้เด็กมีภาวะขาดโภชนาการที่ดีและมีคุณค่า และนอกจากนี้ยังมีการใช้สื่อโทรทัศน์หรือสมาร์ทโฟนกับเด็กโดยเฉพาะเด็กอายุตำ่กว่า 3 ปี ถือเป็นช่วงวัยที่สำคัญมากในการพัฒนาศักยภาพทางสมองของเด็กๆ หากสมองถูกกระตุ้นจากการที่ได้รับสื่อเทคโนโลยี เช่ข โทรศัพท์มือถือ อินเทอร์เนต โทรทัศน์ แท็แล็ต มากเกินไป อาจส่งผลกระทบต่อหน้าที่การทำงานของสมองในเด็กได้ ซึ่งทำให้เด้กขาดทักาะการใช้กล้ามเนื้อที่กำลังเจริญเติบโต มีกระบวนการเรียนรู้คิดช้ากว่าวัยสมาธิสั้น การเรีนยรู้บกพร่อง และอาจทำให้ความสามารถในการควบคุมตนเองลดลง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนนาทอน เป็นสถานศึกษาที่ให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์และส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ให้เด็กเล็กทีมีอายุตั้งแต่ 2-5 ปี ให้มีความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาที่เหมาะสมตามวัยตามศักยภาพของเด็กแต่ละคน และจากดำเนินงานที่ผ่านมาของศูนย์พัฒนาเด้กเล็กบ้านนาทอน ซึ่งมีเด็กทั้งหมด 80 คน ได้มีการเก็บข้อมูลด้านต่างๆได้แก่ด้านสุขภาพพบว่าเด็กที่เป็นโรคหวัดบ่อยๆ จำนวน 54 คน ที่สงสัยว่าเป็นดรคมือเท้าปาก จำนวน3 คน โรคอุจระร่วง จำนวน6 คน และโรคผิวหนังเรื้อรัง อจำนวน 7 คน ด้านการดูแลสุขภาพในช่องปาก ซึ่งจะมีความสัมพันธ์โดยตรงต่อสุขภาพทั่วไปแของเด็ก พบโรคและความผิดปกติในช่องปากที่มีปัญหาชัดเจน คือ โรคฟันน้ำนมผุ จำนวน 59 คน ซึ่งเด็กกลุ่มนี้จะขาดการดูแลที่เหมาะสมหรืออาจเข้าใจผิดคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดาจากพ่อแม่ ผู้ปกครองตั้งแต่อายุ 6 เดือน และเพิ่มขึ้อย่างรวดเร็วในช่วงเด็กอายุ 1-3 ปี บางคนฟันผุทั้งปาก หากปล่อยปละละเลยก็มีผลกระทบต่อฟันแท้ที่จะงอกออกมาใหม่ในอนาคตและเด็กอาจจะสูญเสียฟันแท้ไปก่อนกำหนดและส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็กและเกิดผลเสียต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตในระยะยาว ด้านการเจริญเติบโต พบเด็กที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 3 คน และเด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินกว่าเกณฑ์ จำนวน3 คน ด้านการพัฒนาการ พบว่าเด็กที่พัฒนาการไม่สมวัย จำนวน 7 คน ปละผลจากการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก พบว่ามีเด็กที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ให้ดียิ่งขึ้น จำนวน 8 คน และมีเด็กที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒาความฉลาดทางสติปัญญาให้สูงยิ่งขึ้น จำนวน 29 คน
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาทอนได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมการเจริญเติบโต สุขภาพอนามัย พัฒนาการด้านต่างๆรวมทั้งพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และความฉลาดทางสติปัญญาของเด็กศูนย์พัฒาเด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการ เด็กศูนย์สุขภาพดี มีพัฒนาการสมวัย ขึ้น โดยความร่วมมือของสำนักงานสาธารรสุขอำเภอทุ่งหว้า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาทอน องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาทอน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญ เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อให้เด็กได้มีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดี
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครู้ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า
  5. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์
  6. เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการคัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดุแลเฝ้าระวังและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด้กปฐมวัยอย่างเหมาะสม
    2 ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
    3 เด้กมีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดี
    4 ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า
    5 เด้กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการที่สมวัย มีความฉลาดทางสติปัญญา (IQ) และความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ที่ดีขึ้น
    6 เด้กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนได้รับการคัดกรองและการกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยอย่างต่อเนื่อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : เด็กและผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยทุกคน

     

    2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญ เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็ก และผู้ประกอบอาหารได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยทุกคน มีความตระหนักถึงความสำ

     

    3 เพื่อให้เด็กได้มีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดี
    ตัวชี้วัด : เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดีทุกคน

     

    4 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครู้ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครอง เด็ก ครู้ผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เพื่อการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า ร้อยละ 90
    0.00

     

    5 เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์
    ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการทั้ง 4ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา โดยใช้เครื่องมือประเมิณพัฒนาการ DSPM ทุกคน
    0.00

     

    6 เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการคัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : เกิดกระบวนการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครูผู้ดูแลเด็กและผู้ประกอบอาหารได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญ เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย (3) เพื่อให้เด็กได้มีทักษะในการดูแลตนเองและมีสุขนิสัยที่ดี (4) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก ครู้ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจการส่งเสริมพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนการ กิน กอด เล่น เล่า (5) เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการที่สมวัย มีฉลาดทางสติปัญญา และความฉลาดทางอารมณ์ (6) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการคัดกรองและกระตุ้นพัฒนาการตามช่วงวัยอย่างต่อเนื่อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเด็กในศูนย์สุขภาพดีมีพัฒนาการสมวัย จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5294-3-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุกัลยา สอเหลบ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด