โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.จารุวรรณคงทน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-25 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2560 ถึง 25 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2560 - 25 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทย ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ หมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ มีจำนวนและสัดส่วนมากขึ้น ซื่งองค์การสหประชาชาติให้คำนิยามว่า ประเทศใดที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จำนวนประชากรผู้สูงอายุประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ 14.5 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ในปี 2568 และแนวโน้มผู้สูงอายุเหล่านี้อยู่คนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีผลต่อการให้การดูแลผู้สูงอายุทั้ง ด้านร่างกายและจิตใจ อายุยิ่งสูงขึ้นยิ่งเจ็บป่วย โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคไขมันในเลือดสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น รักษาไม่หาย มีภาวการณ์พึ่งพา ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาว
จากข้อมูลประชากรพบว่าในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลยะหามีผู้สูงอายุจำนวนถึง 860 คน ผู้สูงอายุเหล่านี้ส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้นอีกทั้งมีแนวโน้มเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆ เป็นส่วนมาก ชีวิตในบั้นปลายย่อมเป็นภาระลูกหลาน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัด “โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา” ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มาร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดภูมิปัญญาไปสู่ลูกหลาน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม อีกทั้งยังได้ดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเหมาะกับวัย มีอายุยืนยาว มีความสุขในบั้นปลายชีวิต และยึดแนวเศรษฐกิจพอเพียงใช้ในชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพทางกายที่แข็งแรงด้วยวิธีกินอาหารที่ปลอดภัยและออกกำลังกายที่เหมาะสม
- มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพได้จริงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
- ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
- ผู้สูงอายุสามารถนำกลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่วิถีชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุทำให้เกิดคุณค่าต่อชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย
1.2 เพื่อนำภูมิปัญญาชาวบ้านมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุเป็นการสืบทอดถึงเยาวชนรุ่นหลัง
1.3 เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
1.4 เพื่อนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่วิถีชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุทำให้เกิดคุณค่าต่อชีวิต
- เป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ คือ ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม 30 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ คือ ผู้สูงอายุมีความสุข สุขภาพดี
- วิธีดำเนินการ
3.1 จัดทำและขออนุมัติโครงการ
3.2 จัดทำรายชื่อ/ทะเบียนผู้สูงอายุประจำปี
3.3 ประชุมคณะกรรมการ/เครือข่ายผู้สูงอายุเพื่อกำหนดกิจกรรม
3.4 จัดประชุม/จัดกิจกรรมในแต่ละเดือนให้ความรู้ต่างๆ กับผู้สูงอายุ
3.5 ติดตาม สรุปผล
- ระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่เดือนมีนาคม – กันยายน 2560
- สถานที่ดำเนินการ องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา และอาคารอเนกประสงค์ ม. 6 ตำบลยะหา
- การติดตามและประเมินผล
1.สังเกตจากพฤติกรรมการสนใจเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุ
2.ทดสอบกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพทางกายที่แข็งแรงด้วยวิธีกินอาหารที่ปลอดภัยและออกกำลังกายที่เหมาะสม
- มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพได้จริงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
- ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
- ผู้สูงอายุสามารถนำกลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่วิถีชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุทำให้เกิดคุณค่าต่อชีวิต
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.จารุวรรณคงทน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา ”
ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
น.ส.จารุวรรณคงทน
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-25 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มีนาคม 2560 ถึง 25 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะหา อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4150-1-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มีนาคม 2560 - 25 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะหา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สังคมไทย ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ หมายความว่าประชากรที่มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์ มีจำนวนและสัดส่วนมากขึ้น ซื่งองค์การสหประชาชาติให้คำนิยามว่า ประเทศใดที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นสัดส่วนร้อยละ 10 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ จำนวนประชากรผู้สูงอายุประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และคาดว่าจะเพิ่มเป็นร้อยละ 14.5 ล้านคน หรือร้อยละ 20 ในปี 2568 และแนวโน้มผู้สูงอายุเหล่านี้อยู่คนเดียวหรืออยู่ตามลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีผลต่อการให้การดูแลผู้สูงอายุทั้ง ด้านร่างกายและจิตใจ อายุยิ่งสูงขึ้นยิ่งเจ็บป่วย โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง หรือโรคไขมันในเลือดสูงมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น รักษาไม่หาย มีภาวการณ์พึ่งพา ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและการดูแลระยะยาว
จากข้อมูลประชากรพบว่าในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลยะหามีผู้สูงอายุจำนวนถึง 860 คน ผู้สูงอายุเหล่านี้ส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูง และโรคไขมันในเลือดสูง เป็นต้นอีกทั้งมีแนวโน้มเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆ เป็นส่วนมาก ชีวิตในบั้นปลายย่อมเป็นภาระลูกหลาน
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา เห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัด “โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา” ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มาร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอดภูมิปัญญาไปสู่ลูกหลาน และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม อีกทั้งยังได้ดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเหมาะกับวัย มีอายุยืนยาว มีความสุขในบั้นปลายชีวิต และยึดแนวเศรษฐกิจพอเพียงใช้ในชีวิตประจำวัน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพทางกายที่แข็งแรงด้วยวิธีกินอาหารที่ปลอดภัยและออกกำลังกายที่เหมาะสม
- มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพได้จริงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
- ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
- ผู้สูงอายุสามารถนำกลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่วิถีชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุทำให้เกิดคุณค่าต่อชีวิต
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องด้วยการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย 1.2 เพื่อนำภูมิปัญญาชาวบ้านมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุเป็นการสืบทอดถึงเยาวชนรุ่นหลัง 1.3 เพื่อใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เกิดความสุขทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม 1.4 เพื่อนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่วิถีชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุทำให้เกิดคุณค่าต่อชีวิต
- เป้าหมาย
เป้าหมายเชิงปริมาณ คือ ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม 30 คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ คือ ผู้สูงอายุมีความสุข สุขภาพดี
- วิธีดำเนินการ
3.1 จัดทำและขออนุมัติโครงการ
3.2 จัดทำรายชื่อ/ทะเบียนผู้สูงอายุประจำปี
3.3 ประชุมคณะกรรมการ/เครือข่ายผู้สูงอายุเพื่อกำหนดกิจกรรม 3.4 จัดประชุม/จัดกิจกรรมในแต่ละเดือนให้ความรู้ต่างๆ กับผู้สูงอายุ 3.5 ติดตาม สรุปผล - ระยะเวลาดำเนินการ ตั้งแต่เดือนมีนาคม – กันยายน 2560
- สถานที่ดำเนินการ องค์การบริหารส่วนตำบลยะหา และอาคารอเนกประสงค์ ม. 6 ตำบลยะหา
- การติดตามและประเมินผล 1.สังเกตจากพฤติกรรมการสนใจเข้าร่วมกิจกรรมของผู้สูงอายุ 2.ทดสอบกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพทางกายที่แข็งแรงด้วยวิธีกินอาหารที่ปลอดภัยและออกกำลังกายที่เหมาะสม
- มีการถ่ายทอดภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพได้จริงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
- ผู้สูงอายุสามารถอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
- ผู้สูงอายุสามารถนำกลักเศรษฐกิจพอเพียงเข้าสู่วิถีชีวิตประจำวันของผู้สูงอายุทำให้เกิดคุณค่าต่อชีวิต
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุองค์การบริหารส่วนตำบลยะหา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4150-1-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.จารุวรรณคงทน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......