โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุกัญญา ขำยา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด
กรกฎาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กรกฎาคม 2562 ถึง 18 กรกฎาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กรกฎาคม 2562 - 18 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเทคโนโลยี ด้านการเกษตร รวมถึงด้านการอาหาร การบริโภคอาหารของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเก่า การบริโภคเกิดขึ้นได้ง่ายขึ้นสะดวกขึ้น การประกอบอาหารของครัวเรือนน้อยลง อาหารจานเดียวเพิ่มมากขึ้น อาหารสำเร็จรูปมีมากขึ้นซึ่งการบริโภคอาหารเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคทางระบบ เช่น โรคหัวใจหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ก็เกี่ยวข้องกับระบบทางร่างกายเช่นกัน นอกจากโรคที่เกิดขึ้นในร่างกายเราจากอาหารเหล่านั้น จุดสำคัญจุดแรกของการบริโภคคือ ปาก อย่างที่ว่า ปากคือประตูสู่สุขภาพ ช่องปากคือประตูสู่สุขภาพของทุกเพศทุกวัย กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยใส่ใจสุขภาพช่องปากของตัวเองเพื่อเป็นการลดการสูญเสียฟันลดการเกิดโรคในช่องปาก จากปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในช่องปากจากโรคทางระบบ ดังเช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง เป็นต้น เพราะเมื่อเป็นโรคทางระบบนั้นการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยที่เป็นโรคนอกจากการต้องควบคุมอาการของโรคให้อยู่ในภาวะคงที่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นการคุมระดับน้ำตาลในเลือด การควบคุมระดับความดันโลหิต การควบคุมการไหลเวียนของเลือด ให้อยู่ในสภาวะคงตัวได้แล้วนั้นจะส่งผลให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดีขึ้นทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และช่องปาก ดังนั้นผู้ป่วยที่เป็นโรคทางระบบจำเป็นจะต้องอาศัยยาในการรักษาโรค ยาแต่ละชนิดที่ให้ฤทธิ์ต่างกันยังส่งผลให้เกิดการทำลายของอวัยวะบางส่วนในช่องปาก เช่น การเกิดหินน้ำลายจนกลายเป็นโรคปริทันต์อักเสบ การเกิดอาการปากแห้งจนกลายเป็นแผลในปาก และเกิดฟันผุได้ง่ายขึ้น ผู้ป่วยที่เป็นโรคทางระบบจึงควรให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองด้วยการดูแลสุขภาพช่อ
ปากที่ถูกวิธี การไปตรวจฟันทุกๆ 6 เดือน การขูดหินน้ำลายและการรักษาฟันผุด้วยการอุดฟันเพื่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีฟันใช้งานครบทุกคู่สบอย่างยาวนาน
ทีมสุขภาพคลินิกเติมยาโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร ตำบลนาโหนด อำเมือง จังหวัดพัทลุง เห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ดังกล่าวขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้ป่วยเรื้อรังมีความตระหนักและรับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันเพิ่มมากขึ้น
- ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วันที่ 18 กรกฏาคม 2562 อบรมผู้ป่วยโรคเรื้อรังจำนวน 150 คน เรื่อง "การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยเรื้อรัง" โดยแบ่งอบรมเป็น 2 กลุ่ม ช่วงเช้าเวลา 08.30 - 12.00 น.อบรมผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 40 คน ช่วงบ่ายอบรมผู้ป่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและการป้องกันการเกิดโรคในช่องปาก จำนวน ๑๕๐ คน
๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน ๑๕๐ คน
๓. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรที่ดีรับการตรวจสุขภาพช่องปากและพบปัญหาได้รับการรักษาและได้รับการส่งต่อทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ผู้ป่วยเรื้อรังมีความตระหนักและรับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
2.00
120.00
2
ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ลดภาวะการเกิดโรคช่องปากและฟันในผู้ป่วยเรื้อรังอย่างน้อยร้อยละ 80
2.00
120.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
150
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยเรื้อรังมีความตระหนักและรับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันเพิ่มมากขึ้น (2) ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วันที่ 18 กรกฏาคม 2562 อบรมผู้ป่วยโรคเรื้อรังจำนวน 150 คน เรื่อง "การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยเรื้อรัง" โดยแบ่งอบรมเป็น 2 กลุ่ม ช่วงเช้าเวลา 08.30 - 12.00 น.อบรมผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 40 คน ช่วงบ่ายอบรมผู้ป่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุกัญญา ขำยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุกัญญา ขำยา
กรกฎาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กรกฎาคม 2562 ถึง 18 กรกฎาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กรกฎาคม 2562 - 18 กรกฎาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 150 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วทุกๆ ด้าน ทั้งด้านเทคโนโลยี ด้านการเกษตร รวมถึงด้านการอาหาร การบริโภคอาหารของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปจากเก่า การบริโภคเกิดขึ้นได้ง่ายขึ้นสะดวกขึ้น การประกอบอาหารของครัวเรือนน้อยลง อาหารจานเดียวเพิ่มมากขึ้น อาหารสำเร็จรูปมีมากขึ้นซึ่งการบริโภคอาหารเหล่านี้ ส่งผลให้เกิดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคทางระบบ เช่น โรคหัวใจหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ก็เกี่ยวข้องกับระบบทางร่างกายเช่นกัน นอกจากโรคที่เกิดขึ้นในร่างกายเราจากอาหารเหล่านั้น จุดสำคัญจุดแรกของการบริโภคคือ ปาก อย่างที่ว่า ปากคือประตูสู่สุขภาพ ช่องปากคือประตูสู่สุขภาพของทุกเพศทุกวัย กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยใส่ใจสุขภาพช่องปากของตัวเองเพื่อเป็นการลดการสูญเสียฟันลดการเกิดโรคในช่องปาก จากปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคในช่องปากจากโรคทางระบบ ดังเช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง เป็นต้น เพราะเมื่อเป็นโรคทางระบบนั้นการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยที่เป็นโรคนอกจากการต้องควบคุมอาการของโรคให้อยู่ในภาวะคงที่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นการคุมระดับน้ำตาลในเลือด การควบคุมระดับความดันโลหิต การควบคุมการไหลเวียนของเลือด ให้อยู่ในสภาวะคงตัวได้แล้วนั้นจะส่งผลให้ร่างกายมีสุขภาพที่ดีขึ้นทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และช่องปาก ดังนั้นผู้ป่วยที่เป็นโรคทางระบบจำเป็นจะต้องอาศัยยาในการรักษาโรค ยาแต่ละชนิดที่ให้ฤทธิ์ต่างกันยังส่งผลให้เกิดการทำลายของอวัยวะบางส่วนในช่องปาก เช่น การเกิดหินน้ำลายจนกลายเป็นโรคปริทันต์อักเสบ การเกิดอาการปากแห้งจนกลายเป็นแผลในปาก และเกิดฟันผุได้ง่ายขึ้น ผู้ป่วยที่เป็นโรคทางระบบจึงควรให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองด้วยการดูแลสุขภาพช่อ
ปากที่ถูกวิธี การไปตรวจฟันทุกๆ 6 เดือน การขูดหินน้ำลายและการรักษาฟันผุด้วยการอุดฟันเพื่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดีและมีฟันใช้งานครบทุกคู่สบอย่างยาวนาน
ทีมสุขภาพคลินิกเติมยาโรคเรื้อรังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร ตำบลนาโหนด อำเมือง จังหวัดพัทลุง เห็นความสำคัญของปัญหานี้ จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ดังกล่าวขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ผู้ป่วยเรื้อรังมีความตระหนักและรับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันเพิ่มมากขึ้น
- ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- วันที่ 18 กรกฏาคม 2562 อบรมผู้ป่วยโรคเรื้อรังจำนวน 150 คน เรื่อง "การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยเรื้อรัง" โดยแบ่งอบรมเป็น 2 กลุ่ม ช่วงเช้าเวลา 08.30 - 12.00 น.อบรมผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 40 คน ช่วงบ่ายอบรมผู้ป่
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและการป้องกันการเกิดโรคในช่องปาก จำนวน ๑๕๐ คน ๒. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน ๑๕๐ คน ๓. ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรที่ดีรับการตรวจสุขภาพช่องปากและพบปัญหาได้รับการรักษาและได้รับการส่งต่อทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ผู้ป่วยเรื้อรังมีความตระหนักและรับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเรื้อรังได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน |
2.00 | 120.00 |
|
|
2 | ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ลดภาวะการเกิดโรคช่องปากและฟันในผู้ป่วยเรื้อรังอย่างน้อยร้อยละ 80 |
2.00 | 120.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 150 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยเรื้อรังมีความตระหนักและรับการตรวจสุขภาพช่องปากและฟันเพิ่มมากขึ้น (2) ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วันที่ 18 กรกฏาคม 2562 อบรมผู้ป่วยโรคเรื้อรังจำนวน 150 คน เรื่อง "การดูแลสุขภาพช่องปากและฟันป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยเรื้อรัง" โดยแบ่งอบรมเป็น 2 กลุ่ม ช่วงเช้าเวลา 08.30 - 12.00 น.อบรมผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวน 40 คน ช่วงบ่ายอบรมผู้ป่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากและป้องกันการเกิดโรคในช่องปากของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2562 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุกัญญา ขำยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......