กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่แก่แกนนำสุขภาพและผู้สนใจ
ทำให้แกนนำสุขภาพ มีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ สามารถดูแลตนเองเบื้องต้นในเรื่องการป้องกันโรคโดยมีแกนนำสุขภาพ เข้าร่วมจำนวน 50 คน
    กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่แก่ครูและนักเรียน โรงเรียนสอนศาสนาในพื้นที่ตำบลวังประจันจำนวน 1 แห่ง โดยครูและนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 37 คน ทำให้ครูและนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ และดูแลตนเองเบื้องต้นกรณีที่เป็นโรคติดต่อได้ กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดเสาวนากลุ่มให้ความรู้ในการควบคุมโรคไข้เลือดออกและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 วันที่ 26-29 กรกฎาคม 2562 ครั้งที่ 2 วันที่ 16-19 สิงหาคม 2562 ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก เกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ สามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกโดยตั้งแต่เดือนมกราคม 2562 – เดือนกันยายน 2562 ยังไม่มีผู้ป่วยยืนยันไข้เลือดออก แต่ยังพบผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกจำนวน 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 834.16 ต่อแสนประชาการจึงต้องมีการเฝ้าระวังการระบาดอย่างต่อเนื่อง จากการลงสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ตำบลวังประจัน ณ เดือนกันยายน 2562 ค่า HI เท่ากับ 17 CI เท่ากับ 0
    กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำโลชั่นทากันยุง แก่นักจัดการสุขภาพและผู้สนใจ วันที่ 6 สิงหาคม 2562 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 50 คนและจัดทำโลชั่นทากันยุงจำนวน 100 ขวด เพื่อใช้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกพื้นที่ตำบลวังประจัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)
5.00 5.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)
1.00 0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน) (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด (3) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพประจำบ้านมีความรู้ มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (4) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ (2) ประชุมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญในพื้นที่ (3) จัดเสวนากลุ่มให้ความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม และขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย จำนวน 4 หมู่บ้าน2ครั้ง (4) ประชุมเชิงปฏิบัตการจัดทำโลชั่นทากันยุง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh