กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
รหัสโครงการ 60-L5171-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลควนเนียง
วันที่อนุมัติ 24 มกราคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 มีนาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 52,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.112,100.364place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลแบบ Intermediate care เป็นแนวคิดที่ช่วยแก้ปัญหาในเรื่องของการดูแลผู้ป่วยที่เชื่อมประสานช่องว่างการดูแลแบบระยะเฉียบพลัน (Acute care ) ในสถานพยาบาลและการดูแลที่บ้านหรือการดูแลในชุมชน (Community care ) โดยการดูแลแบบระยะกลางเป็นการดูแลระยะที่ถือได้ว่าเป็นลดขั้นตอนของการดูแลที่มีความซับซ้อนของการดูแลที่ลดหลั่นลงกว่าการดูแลแบบเฉียบพลัน (Down step) วึ่งความเป็นจริงมีผู้ป่วยอีกจำนวนมากไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่ยังไม่พร้อมสำหรับการดูแลต่อเนื่องในการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและการเตรียมความพร้อมของผู้ดูแลเพื่อสามารถรับมือการดูแลต่ิเนื่องที่บ้านได้ ในการนี้โรงพยาบาลควนเนียง ได้เล็งเห็นความสำคัญ จึงจัดทำโครงการติดตามดูแลผู้ป่วย intermediate care อำเภอควนเนียงขึ้น โดยมีการดำเนินการค้นหาและติดตามผู้ป่วย intermediate care เชิงรุกและปรับโครงสร้างทางกายภาพในชุมชน มีการประสานงานและทำการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วย intermediate care มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี และการพัฒนาระบบการติดตามดูแลฟื้นฟูสรรถภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันความพิการและภาวะแรกซ้อน รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของผู้ป่วย โดยให้ครอบครัวและชุมชนมี่ส่วนร่วม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อติดตามดูแลกลุ่มเป้าหมายที่ไม่จำเป็นได้รับการรักษาในโรงพยาบาล
  1. ผู้ป่วย intermediate care ได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่องมีคะแนน BI เพิ่มขึ้น 2 คะแนน ภาวใน 2 เดือน
0.00
2 2. เพื่อให้บริการที่ตั้งพื้นฐานความสามารถของภาวะสุขภาพของแต่ละราย
  1. ผู้ป่วย intermediate care ได้รับการดูแลฟื้นฟูต่อเนื่องมากกว่า ร้อยละ 75 โดยการประเมินความรู้ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ
0.00
3 3. เพื่อให้ผู้รับบริการสามารถดูแลและช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด
  1. ผู้ป่วย intermediate care กลุ่มติดบ้าน ติดเตียง ที่ได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ และญาติหรือผู้ดูแล สามารถให้การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่บ้านได้มากกว่าร้อยละ 75 โดยการประเมินทวนสอบความสามารถในการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยและญาติ
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 120 69,000.00 0 0.00
21 พ.ค. 63 1.กิจกรรมการอบรมตัวแทนอสม.สำหรับประเมินภาวะสุขภาพและฟื้นฟูผู้ป่วย intermediate care 120 30,000.00 -
21 พ.ค. 63 2. ติดตามเยี่ยมบ้านและฟื้นฟู intermediate care โดย อสม. ที่ผ่านการอบรม 0 12,000.00 -
21 พ.ค. 63 3. ค่าจัดอุปกรณ์และเอกสารสำหรับกิจรรม 0 5,000.00 -
21 พ.ค. 63 4. ค่าทำอุปกรณ์และปรับสภาพบ้านให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย 0 10,000.00 -
21 พ.ค. 63 5 ประชุม อสม. เพื่อสรุปและมอบหมอบให้พื้นที่ดำเนินต่อเนื่อง 0 12,000.00 -
  1. เตรียมงาน 1.1 สำรวจข้อมูลผู้ป่วย intermediate care ทั้งหมดในอำเภอควนเนียง 1.2 แยกประเภทของผู้ป่วย intermediate care เป็นประเภทติดเตียง ติดบ้าน ติดสังคม 1.3 ศึกษาแนวทางและรูปแบบในการประเมินปัญหาสุขภาพผู้ป่วย intermediate care
    1.4 เสนอเพื่ออนุมัติโครงการ
  2. ปฎิบิตงาน 2.1คืนข้อมูลผู้ป่วย intermediate care จากการสำรวจให้ผู้รับผิดแต่ละพื้นที่ รวมถึงชี้แจงโครงการและรายละเอียดโครงการให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ 2.2 คัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการโดยแบ่งตามเขตรับผิดชอบของรพ.สต. และกลุ่มงานเวชปฎิบัติครอบครัวและชุมชน 2.3 อบรมตัวแทน อสม. ในการประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 100 คน
  3. จัดอบรมเชิงปฎิบัติการสร้างเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ 3.1 ให้ความรู้ร่วมกับการฝึกปฎิบัติในการส่งเสริมสุขภาพทางกายทั้งด้านการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ รวมถึงการออกกำลังการเพื่อเพิ่มความทนทาน และให้ความรู้ในการป้องกันการเกิดโรคหรือการเกิดภาวะแทรกซ้อน จากโรคต่างๆ พร้อมทั้งให้กำลังใจและสร้างแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพตนเองให้แก่ผู้สูงอายุ
  4. ให้การฟื้รฟูสมรรถภาพ ให้การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย intermediate caer ตามข้อมูลที่ได้สำรวจและแยกประเภทผู้ป่วยไว้
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ผู้ป่วย intermediate care ได้ทราบภาวะสุขภาพ และปัญหาสุขภาพของตนเอง 2.อสม. และผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าในในการดูแลและผู้ป่วย ผู้ป่วย intermediate care อย่างถูกต้องเหมาะสม ส่งผลให้ช่วยชะลออัตรการเกิดโรคที่จำนำไปสู่ภาวะเรื้องรัง และภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้
  2. ผู้ป่วย intermediate care ตอดบ้าน ติดเตียงได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ และได้รับโปรแกรรมการฟื้นฟูสรรถภาพที่บ้านอย่างเหมาะสม
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2562 09:42 น.