กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2562 ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมจิตร โลธร

ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5171-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5171-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในทศวรรษนี้ การสูงวัยของประชาชนเป็นปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ประเทสไทยจะเข้าสู้สังคมผู้าศุงอายุโดยสใบูรณื คือมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ในปี พ.ศ.2561 โดยมีผู้สูงอายุมากากว่าเด็ก และคิดเป็นสัดส่วนประมาณ 1 ใน5 ของประชากรทั้งหมด การมีสัดส่วนผู้ศุงอายุขึ้นย่อมหมายถึงภาระของรัฐ ชุมชน และครอบครัว ในการดูแลสุขภาพ ค่าใช้จ่ายในการยังชีพ และการดูแลเกี่ยวกับการอยู่อาศัยที่เหมาะสม ที่จะต้องสูงขึ้นตามไปด้วย การมองเรื่องผู้สูงอายุกันใหม่ จากภาพของคนแก่ทำอะไรไม่ได้ เจ็บออดแอด รอวัยตาย ไปสู่การเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุยืนยาว และมีสุขภาพจิตและสุขภาพกายที่แข็งแรง รวมถึงมีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะช่วงอายุจาก 60ปีถึง 80 ปี เป็นเวลาอีกไม่น้อยจึงเป็นช่วงเวลาที่สามารถดำรงรักษาสุขภาพ ทำการทีเป็นประโยชน์ และมีความสุข ดังนั้น การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จะเป็นรูปธรรมได้นั้น ทุกคนในชุมชนจะต้องได้รับการปลูกฝังให้มีพื้นฐานทางด้านจิตสำนึก ด้านความคิด ที่จะต้องให้ความสนใจ ใส่ใจ ดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุให้สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้มีคุณภาพชีวิตที่ดีอายุยืนยาว ดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในเขตพื้นที่ 2,3,4,5,6 และ7 ในตำบลบางเหรียง มีผู้สูงอายุทั้งหมด จำนวน 626 ราย พบเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 152 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 28 ราย โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 15 ราย และกลุ่มเฝ้าระวัง จำนวน 127 ราย (ข้อมูลจากระบบ JHCIS รพสต.บางเหรียง) ด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ให้อยู่อย่างสุขภาพดีมีอนามัย ทางชมรม อสม. รพสต.บางเหรียง จึงได้จัดทำโครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2562 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกานและจิตใจ
  3. 3. เพืื่อให้ผู้อายุได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
  4. 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้สูงอายุในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับตนเอง
  5. 5. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละครอบครัว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. โครงการอบรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปี 2562
  2. 1.1 กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ/อาหารสำหรับผู้งสูงอายุ/การขับถ่าย/การใช้ยาอย่างปลอดภัย/อยู่อย่างไรให้มีความสุข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจวิธีการดูแลตนเองอย่างถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุมีขวัญและกำลังใจ ในการส่งเสริมของตนเองในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น
  3. ผู้สูงอายุได้พบปะและร่วมทำกิจกรรม เกิดความรัก ความผูกพันและความอบอุ่นในครอบครัว
  4. มีชมรมผู้สูงอายุเกิดขึ้นในการพื้นที่ดำเนินโครงการ อย่างน้อย 1 ชมรม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกานและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีพัฒนาการสามารถช่วยเหลือตนเองเพื่อสุขภาพ กาย ใจ ที่ดี
0.00

 

3 3. เพืื่อให้ผู้อายุได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจและความสุขในการทำกิจกรรม
0.00

 

4 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้สูงอายุในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมมีกำลังใจในการดูแลสุขภาพตนเองให้ปลอดภัยจากโรคเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

5 5. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เจชข้าร่วมอบรมเกิดความรัก ความผูกพันและความอบอุ่นในครอบครัว
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการส่งเสริมสุขภาพและดูแลตนเองของผู้สูงอายุ (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกานและจิตใจ (3) 3. เพืื่อให้ผู้อายุได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (4) 4. เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้สูงอายุในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้กับตนเอง (5) 5. เพื่อเสริมสร้างให้พี่น้องประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักเห็นความสำคัญและให้การดูแลสสุขภาพผู้สูงอายุในแต่ละครอบครัว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. โครงการอบรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประจำปี 2562 (2) 1.1 กิจกรรมย่อย อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ/อาหารสำหรับผู้งสูงอายุ/การขับถ่าย/การใช้ยาอย่างปลอดภัย/อยู่อย่างไรให้มีความสุข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสูงวัยอนามัยดี ประจำปี 2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5171-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมจิตร โลธร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด