กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-6 ปี ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิดสุวรรณสังข์




ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-6 ปี

ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4135-1-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-6 ปี จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-6 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-6 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 78,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิดถึง 6 ปเปนทรัพยากรที่มีคุณคาและเปนอนาคตที่สําคัญต่อการพัฒนาประเทศบุคคลอื่นในครอบครัวที่มีสวนอบรมเลี้ยงดูเด็กหากเด็กไดรับความรัก ความอบอุน การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสม ถูกตอง สงเสริมพัฒนาการและประสบการณเรียนรู้ที่สอดคลองกับวัยของเด็ก ไดรับอาหารถูกหลักโภชนาการ การดูแลเอาใจใส ความมั่นคงปลอดภัยเด็กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกดานทั้งทางรางกาย สติปญญา จิตใจ อารมณและสังคม พรอมที่จะเติบโตเปนประชากรที่มีคุณภาพตอไปสำหรับ สถานการณ์ส่งเสริมสุขภาพเด็ก 0 – 5 ปี พบว่ามีปัญหาที่เป็นปัจจัยต่อพัฒนาการสมวัยของเด็กแรกเกิด - 5 ปี ได้แก่ ทารกแรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 9.0 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ กำหนดไว้ ไม่เกินร้อยละ 7 การขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดพบ 25.6 ต่อเด็กเกิดมีชีพพันคน และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว พบร้อยละ 47.5 (สารนักส่งเสริมสุขภาพ, 2556) และพบปัญหาพัฒนาการเด็กปฐมวัย จากการสำรวจสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัย ทุก 3 ปี ของกรมอนามัย โดยเครื่องมือมาตรฐานDenver II และนักประเมินพัฒนาการเด็กที่ผ่านการอบรม พบว่าเด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยลดลงจากร้อยละ 71.7 เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตของประเทศชาติเด็กจะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพ จะต้องดูแลเตรียมพ่อแม่ตั้งแต่ก่อนแม่ตั้งครรภ์และดูแลต่อเนื่องตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด จนเกิดอย่างมีคุณภาพ พ่อแม่คุณภาพจำเป็นต้องเตรียมทั้งการดูแลสุขภาพกายสุขภาพจิต ทั้งของพ่อแม่ และลูกตลอดจนมีความรู้ ทักษะการเลี้ยงดู ปกป้อง คุ้มครองให้ความรัก ความอบอุ่น การเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดลูกของตนเองการเลี้ยงดูที่มีคุณภาพจะส่งผลให้เด็กมีสุขภาพแข็งแรงเจริญเติบโตมีพัฒนาการสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจอารมณ์สังคมสามารถเรียนรู้ และเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป

ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี มีจำนวนเด็กอายุ 0-6 ปีทั้งหมด610 คน น้ำหนักตามเกณฑ์ ๕๕0 คน น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 60 คน ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี จึงได้จัดทำโครงการในครั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก0 - 6ป
  2. เพื่อลดปญหาภาวะน้ำหนักเกินเกณฑในเด็ก 0 – 6 ป
  3. เพื่อใหผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงความสําคัญของปญหาภาวะโภชนาการในเด็ก0- 6 ป
  4. เพื่อสงเสริมใหประชาชนของชุมชนมีความรู้ ความเขาใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก0 - 6ป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กอายุ0 – 6ปที่อยูในภาวะทุพโภชนาการ และภาวะน้ำหนักเกินเกณฑลดลง
    2. ผู้ปกครองและประชาชนมีความรูความเขาใจและตระหนักถึงการเลี้ยงดูบุตรใหมี ภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
    3. เด็กอายุ 0 - 6 ปี มีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานอายุ น้ำหนัก ส่วนสูงและมีพัฒนาการสมวัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้

    วันที่ 12 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ ผู้เข้าอบรมครั้งนี้ ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงการตรวจพัฒนาการของเด็ก การดูแลสุขภาพช่องปาก โภชนาการอาหารของเด็ก และการฉีดวัคซีนจาการจัดอบรมครั้งนี้ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีโดยการประเมินได้จากผู้ปกครองในแต่ละหมู่บ้าน  และผู้ปกครองเด็กจะมีการสอบถามเจ้าหน้าที่ในเรื่องของการเจริญเติบโตของเด็ก การดูแลเรื่องการรับประทานอาหาร สุขภาพช่องปาก เรื่องสุขภาพต่างๆของลูก

    2. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะเสี่ยง 60 คน

      • การตรวจสุขภาพเด็กประกอบด้วย การตรวจฟันในเด็ก พบเด็กมีปัญหาสุขภาพด้านช่องปากจำนวน 40 คน ได้ทำการรักษา แล้วร้อยละ 100 การตรวจดูความเข้มข้นของเลือด พบมีปัญหาภาวะซีดจำนวน 10  คน ได้จ่ายยาบำรุงเลือดและจ่ายยาบำรุงครบร้อยละ 100
        การตรวจอุจจาระเพื่อดูพยาธิพบไข่พยาธิ จำนวน 2 คน ได้รักษาโดยการจ่ายยาถ่ายพยาธิแล้วร้อยละ 100
        3.กิจกรรมแจกอาหารเสริมนมรสจืด

    3.กิจกรรมแจกอาหารเสริมนมรสจืด ได้แจกให้เด็กจำนวน 90 กล่อง เป็นระยะเวลา 3 เดือน โดยนัดมาติดตามชั่งน้ำหนักทุกเดือนเพื่อดูภาวะโภชนาการ จากการติดตามชั่งน้ำหนักสรุปได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 น้ำหนักเพิ่มขึ้น จำนวน 40 คน  คิดเป็นร้อยละ 60 กลุ่มที่ 2 น้ำหนักคงที่ จำนวน 20 คน  คิดเป็นร้อยละ 40

     

    80 80

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กิจกรรมการอบรมให้ความรู้ จากการดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-6 ปี ประจำปี 2560  การประเมินโครงการ โดยการจัดกิจกรรมการส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ  0 - 6 ปี  ในวันที่ 12-13 กันยายน 2560 ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้ปกครอง ที่มีบุตรหลานที่อยู่ในเขตตำบลบุดี  จำนวน 80 คน โดยจัดอบรม ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี โดยผู้เข้าอบรมครั้งนี้ ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงการตรวจพัฒนาการของเด็ก การดูแลสุขภาพช่องปาก โภชนาการอาหารของเด็ก และการฉีดวัคซีนจาการจัดอบรมครั้งนี้ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีโดยการประเมินได้จากผู้ปกครองในแต่ละหมู่บ้าน  และผู้ปกครองเด็กจะมีการสอบถามเจ้าหน้าที่ในเรื่องของการเจริญเติบโตของเด็ก การดูแลเรื่องการรับประทานอาหาร สุขภาพช่องปาก เรื่องสุขภาพต่างๆของลูก
    2. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กที่มีภาวะเสี่ยง 60 คน - การตรวจสุขภาพเด็กประกอบด้วย การตรวจฟันในเด็ก พบเด็กมีปัญหาสุขภาพด้านช่องปากจำนวน 40 คน ได้ทำการรักษา แล้วร้อยละ 100 การตรวจดูความเข้มข้นของเลือด พบมีปัญหาภาวะซีดจำนวน 10  คน ได้จ่ายยาบำรุงเลือดและจ่ายยาบำรุงครบร้อยละ 100
    การตรวจอุจจาระเพื่อดูพยาธิพบไข่พยาธิ จำนวน 2 คน ได้รักษาโดยการจ่ายยาถ่ายพยาธิแล้วร้อยละ 100
    3.กิจกรรมแจกอาหารเสริมนมรสจืด กิจกรรมแจกอาหารเสริมนมรสจืด ได้แจกให้เด็กจำนวน 90 กล่อง เป็นระยะเวลา 3 เดือน โดยนัดมาติดตามชั่งน้ำหนักทุกเดือนเพื่อดูภาวะโภชนาการ จากการติดตามชั่งน้ำหนักสรุปได้ดังนี้ กลุ่มที่ 1 น้ำหนักเพิ่มขึ้น จำนวน 40 คน  คิดเป็นร้อยละ 60 กลุ่มที่ 2 น้ำหนักคงที่ จำนวน 20 คน  คิดเป็นร้อยละ 40

    ปัญหาและอุปสรรค 1.การตรวจคัดกรองพัฒนาการในเด็กบางครั้งไม่ให้ความร่วมมือในการตรวจทำให้การประเมินผิดพลาด 2.ผู้ปกครองไม่มีเวลาจะกระตุ้นพัฒนาการเนื่องจากต้องทำงานเมื่อประเมินซ้ำไม่สามารถเชื่อถือได้ 3.มีความรู้ความเข้าใจผิดๆเรื่องของวัคซีน 4.เนื่องจากผู้ปกครองบางคนมีลูกถี่ ตั้งครรภ์แฝด ทำให้การดูแลลูกไม่ทั่วถึง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดปญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก0 - 6ป
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อลดปญหาภาวะน้ำหนักเกินเกณฑในเด็ก 0 – 6 ป
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อใหผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงความสําคัญของปญหาภาวะโภชนาการในเด็ก0- 6 ป
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อสงเสริมใหประชาชนของชุมชนมีความรู้ ความเขาใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก0 - 6ป
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก0 - 6ป (2) เพื่อลดปญหาภาวะน้ำหนักเกินเกณฑในเด็ก 0 – 6 ป (3) เพื่อใหผู้ปกครองของเด็กตระหนักถึงความสําคัญของปญหาภาวะโภชนาการในเด็ก0- 6 ป (4) เพื่อสงเสริมใหประชาชนของชุมชนมีความรู้ ความเขาใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก0 - 6ป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการและพัฒนาการในเด็ก 0-6 ปี จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4135-1-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวสมคิดสุวรรณสังข์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด