กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน


“ โครงการTrainer สุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ”

ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางจิราภรณ์ ฤทธิ์ชัย

ชื่อโครงการ โครงการTrainer สุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-50109-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มกราคม 2562 ถึง 27 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการTrainer สุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการTrainer สุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการTrainer สุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอน อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-50109-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มกราคม 2562 - 27 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,370.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการคืนข้อมูลสถานะสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอน ให้กับประชาชน หมู่ 4 ต.ดอน มีผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ คือ โรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อีกทั้งโรคดังกล่าว ถ้าได้รับการคัดกรองที่ถูกต้อง และพบผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคตั้งแต่เริ่มแรกก็สามารถดูแลรักษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ส่งผลให้การเกิดโรคเป็นผู้ป่วยรายใหม่ลดลงอีกทั้งผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลได้ การแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่ได้ผลอย่างยั่งยืนต้องแก้ปัญหาที่พฤติกรรมและสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเอง ดังนั้น กลุ่มคนสร้างสุข จึงได้ทำโครงการเพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จึงจะเป็นการป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ คืนข้อมูลและให้ความรู้ด้วยปิงปองจราจร 7 สี และจัดเวทีประชาคมเพื่อหามาตรการทางสังคมในชุมชน
  2. กิจกรรมที่ ๒ จัดฐานการเรียนรู้ ๒.๑ ฐานอาหาร ๒.๒ อารมณ์ สุรา/บุหรี่ ๒.๓ ออกกำลังกาย และเสวนาโดยบุคคลต้นแบบ ในเรื่องการดูแลตนเอง และปรับพฤติกรรมการกิน จากเมนูอาหารของกลุ่มเป้าหมายจากนักโภชนาการ
  3. กิจกรรมที่ ๓ การติดตามเดือนละ 2 ครั้ง
  4. กิจกรรมที่ ๔ คัดเลือกบุคคลต้นแบบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. กลุ่มเสี่ยง สามารถดูแลตนเองให้กลับมาอยู่ในกลุ่มปกติได้ ๒. กลุ่มป่วย สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลได้ ส่งผลให้มีภาวะแทรกซ้อน ตา, ไต, เท้า และโรคหลอดเลือด น้อยลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงลดลง -ในปี 2561 พบว่าหมู่ที่4 มมีผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 12.50 จากผลการดำเนินงานในปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสียงร้อยละ 11.76 แสดงให้เห็นว่าพบผู้ป่วยความกดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงลดลงร้อยละ 0.74 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงลดลง -ในปี 2561 พบว่าหมู่ที่ 4 มีผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 25 จากผลการดำเนินงานในปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วยรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงร้อยละ 0 แสดงให้เห็นว่าพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงลดลงร้อยละ 100 ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงได้ -ในปี 2561 พบว่าหมู่ที่4 มมีผู้ป่วยรายใหม่ที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตร้อยละ 30.50 จากผลการดำเนินงานในปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตร้อยละ 33.89 แสดงให้เห็นว่าพบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.39
ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้าตาลได้ -ในปี 2561 พบว่าหมู่ที่4 มีผู้ป่วยรายใหม่ที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตร้อยละ 20 จากผลการดำเนินงานในปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตร้อยละ 25 แสดงให้เห็นว่าพบผู้ป่วยเพิ่มขึ้นร้อยละ 5

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงลดลง
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่จากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานสามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและระดับน้ำตาลได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ คืนข้อมูลและให้ความรู้ด้วยปิงปองจราจร 7 สี และจัดเวทีประชาคมเพื่อหามาตรการทางสังคมในชุมชน (2) กิจกรรมที่ ๒ จัดฐานการเรียนรู้ ๒.๑ ฐานอาหาร ๒.๒ อารมณ์ สุรา/บุหรี่ ๒.๓ ออกกำลังกาย และเสวนาโดยบุคคลต้นแบบ ในเรื่องการดูแลตนเอง และปรับพฤติกรรมการกิน จากเมนูอาหารของกลุ่มเป้าหมายจากนักโภชนาการ (3) กิจกรรมที่ ๓  การติดตามเดือนละ 2 ครั้ง (4) กิจกรรมที่ ๔ คัดเลือกบุคคลต้นแบบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการTrainer สุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-50109-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราภรณ์ ฤทธิ์ชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด