กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ


“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง" ”

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอารมณ์ จิตภักดี

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง"

ที่อยู่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7499-3-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง" จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง" " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7499-3-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 155,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแนวทางพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่พระราชทานไว้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกมิติ ด้วยการบูรณาการทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานและยึดคนเป็นศูนย์กลางพัฒนา ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลสทิงพระ ได้น้อมนำ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพ” และยึดหลักการที่ว่า “สุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี” คือ สุขภาพดีเกิดจากการมีสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุข โดยถือว่าสุขภาพดีหรือสุขภาวะทางกาย ทางใจ ทางสังคม ทางจิตวิญญาณ และปัญญาของทุกคน เป็นศีลธรรมขั้นพื้นฐานของสังคม เป็นการพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนพึ่งตนเองได้
    ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้ประชาชน คนไทยใช้ชีวิตแบบรีบเร่งและแข่งขันมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการทำงานเพื่อหารายได้มาตอบสนองต่อความต้องการสร้างให้เกิดความเครียดและไม่ใส่ใจในการดูแลด้านสุขภาพที่ถูกต้องนำมาซึ่งพฤติกรรมบางอย่างที่ส่งผลกระทบทางด้านลบต่อสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารนอกบ้าน ทำให้พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนไป นิยมบริโภคโปรตีนและไขมันสูง และนิยมซื้ออาหารสำเร็จรูปหรือกึ่งสำเร็จรูปรับประทาน  บริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอ นิยมบริโภคเนื้อสัตว์ขาดการออกกำลังกาย การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา ซึ่งพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ดังกล่าว ส่งผลถึงปัญหาสุขภาพและภาวการณ์เกิดโรคเรื้อรังหลายชนิดที่สำคัญตามมา ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด อัมพาต อัมพฤกษ์ ภาวะวิตกกังวลและความเครียด รวมถึงโรคมะเร็ง ซึ่งโรคหรืออาการต่างๆ ดังกล่าว เป็นโรคหรืออาการเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและตายอันดับต้นๆ ของประเทศ และมีแนวโน้มของปัญหาที่รุนแรงมากขึ้น
    การพัฒนาสุขภาพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การพัฒนาสุขภาพหรือสุขภาวะที่สมบูรณ์ ในทุกมิติของสุขภาพทั้งกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ในระดับบุคคลหรือองค์กร บนพื้นฐานการพึ่งตนเองเป็นหลัก ดำเนินชีวิตบนทางสายกลางพอประมาณ มีเหตุผล ด้วยหลักความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และมีคุณธรรม เป็นพื้นฐาน มีความซื่อสัตย์ เมตตา จิตอาสา เสียสละและแบ่งปัน ตามความเหมาะสมของชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมที่เป็นอยู่ เพื่อความสมดุล มั่นคง และยั่งยืน การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การไม่ฟุ่มเฟือย ประหยัดอดออม ไม่เป็นหนี้ การปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้แก่ครัวเรือน การออกกำลังกาย ทำให้ร่างกายแข็งแรง การทำจิตใจให้เบิกบาน แจ่มใส ไม่เครียดปล่อยวาง มีศีลธรรม เป็นต้น     ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุเทศบาลตำบลสทิงพระ จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ “สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง” เพื่อจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ให้กับผู้สูงอายุเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยเริ่มจากตัวผู้สูงอายุ ในการเปลี่ยนแปลงและมีความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคและการดำเนินชีวิต และจะได้นำองค์ความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน อันส่งผลต่อผู้สูงอายุ ครอบครัวและชุมชนให้มีสุขภาพดีบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี ตามวิถีพอเพียง
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงและมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุสุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง รายละเอียด ตามกำหนดการฝึกอบรมฯ
  2. ประเมินความพึงพอใจและติดตามเยี่ยมหลังการฝึกอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถ        ภาพร่างกายและจิตใจ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองให้ มีสุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง
  2. ผู้สูงอายุมีความตื่นตัว มีส่วนร่วมในชุมชน ดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า และมีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง
  3. ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุสุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง รายละเอียด ตามกำหนดการฝึกอบรมฯ

วันที่ 31 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกอบรมให้ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุสุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้ให้กับผู้สูงอายุเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  โดยเริ่มจากตัวผู้สูงอายุ ในการเปลี่ยนแปลงและมีความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  การบริโภคและการดำเนินชีวิต และจะได้นำองค์ความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน

 

60 0

2. ประเมินความพึงพอใจและติดตามเยี่ยมหลังการฝึกอบรม

วันที่ 29 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมหลังการฝึกอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามเยี่ยมผู้เข้าร่วมกิจกรรมหลังการฝึกอบรม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลสทิงพระ ได้จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ “สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง” เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี ตามวิถีพอเพียง โดยจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ให้กับผู้สูงอายุเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง โดยเริ่มจากตัวผู้สูงอายุ ในการเปลี่ยนแปลงและมีความเข้าใจ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคและการดำเนินชีวิต และจะได้นำองค์ความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน มีสุขภาพดีบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี ตามวิถีพอเพียง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี ตามวิถีพอเพียง เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงและมีความสุข
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการสามารถนำกระบวนการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ดี ตามวิถีพอเพียง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตได้อย่างพอเพียงและมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผู้สูงอายุสุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง รายละเอียด ตามกำหนดการฝึกอบรมฯ (2) ประเมินความพึงพอใจและติดตามเยี่ยมหลังการฝึกอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ "สุขภาพดี ตามวิถีพอเพียง" จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7499-3-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอารมณ์ จิตภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด