กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เขตพื้นที่ตำบลปาล์มพัฒนา ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2562
รหัสโครงการ L620105
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลมะนัง
วันที่อนุมัติ 13 มีนาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2562
งบประมาณ 42,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายปรัญชา เสียมไหม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 1. ข้อมูล 10 ปี ( ปี 2551-2560) มีอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเเสนคนในเด็กต่ำกว่า 15 ปี 953คน/ปี เฉลี่ยใน 1 วันมีเด็กเสียชีวิต 3 คน
3.00
2 2. อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเเสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี 2561 ประเทศ
12.18
3 3. อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี 2561 เขตสุขภาพที่12
0.18
4 4. อัตราการเหตุการณ์จมน้ำต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15ปี 2561 เขต 12 126 ครั้ง 3 อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15ปี 2561 จังหวัดสตูล
7.90

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้ทราบสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บในกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี

อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี ลดลง ร้อยละ 80: ประชาชาชนมีทักษะเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR ให้แก่คนในชุมชนได้ เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและลดอัตราการเสียชีวิตในเด็กต่ำกว่า15ปี

80.00
2 2. เพื่อให้ประชาชาชนมีทักษะเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR ให้แก่คนในชุมชน

อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี ลดลง ร้อยละ 80: ประชาชาชนมีทักษะเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR ให้แก่คนในชุมชนได้ เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและลดอัตราการเสียชีวิตในเด็กต่ำกว่า15ปี

80.00
3 3. เพื่อให้เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ

อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน ในเด็กต่ำกว่า 15 ปี ลดลง ร้อยละ 80: ประชาชาชนมีทักษะเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR ให้แก่คนในชุมชนได้ เด็กกลุ่มเสี่ยงมีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและลดอัตราการเสียชีวิตในเด็กต่ำกว่า15ปี

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 42,800.00 0 0.00
13 มี.ค. 62 - 30 ก.ย. 62 กิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตรการเอาชีวิตรอดในน้ำ 0 42,800.00 -
  1. สำรวจความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บและเสียชีวิต 1.1 สำรวจความเสี่ยงในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีทุกครัวเรือน โดย อสม.
    1.2 บันทึกข้อมูลการสำรวจ/ประมวลผล/วิเคราะห์ความเสี่ยง/คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ
  2. การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยงในในชุมชนและครัวเรือน 2.1 สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน จุดเสี่ยงในครัวเรือน
    2.2 ชุมชนร่วมมือจัดการด้านความปลอดภัยแหล่งน้ำสาธารณะจุดเสี่ยงในชุมชนและทุกครัวเรือน 2.3 เฝ้าระวังการเกิดอุบัติเหตุจมน้ำในชุมชน
  3. การดำเนินการป้องกันการจมน้ำ 3.1 สมัครและขอรับการประเมินรับรองเป็นทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker) ป้องกันการตกน้ำ จมน้ำ
    จำนวน 1 ทีม 3.2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ครู ข. หลักสูตรการเอาชีวิตรอดในน้ำจำนวน 120 คน วิทยากรจากสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดสตูลเครือข่าย (Merit Maker) ป้องกันการตกน้ำ จังหวัดสตูล 3.3 เฝ้าระวังป้องกันเด็กจมน้ำในชุมชนเขตตำบลปาล์มพัฒนา

  4. การดำเนินการป้องกันการจมน้ำ 4.1 การพัฒนาและสร้างเครือข่ายทีมผู้ก่อการดี (Merit Maker)ประชาสัมพันธ์ /รับสมัครผู้ขอรับรองเป็น ผู้ก่อการดี (ประเมินตนเอง - ประเมินโดย สสจ./กรม คร ตามระดับ) จำนวน 1 ทีมต่ออำเภอ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ทราบถึงสถานการณ์ความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี
  2. แหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้รับการจัดการด้านความปลอดภัยอย่างน้อย 3 แห่ง
  3. เด็กกลุ่มเสี่ยงและประชาชนได้รับการฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและการ CPR
      อย่างน้อย 120 คน
  4. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีลดลง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2562 11:08 น.