กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด


“ โครงการคลีนิกเติมยาโรคเรื้่้อรัง ”

ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสุกัญญา ขำยา ประธานทีมสุขภาพคลีนิกเติมยาโรคเรื้อรัง

ชื่อโครงการ โครงการคลีนิกเติมยาโรคเรื้่้อรัง

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 ตุลาคม 2559 ถึง 13 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคลีนิกเติมยาโรคเรื้่้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคลีนิกเติมยาโรคเรื้่้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคลีนิกเติมยาโรคเรื้่้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 ตุลาคม 2559 - 13 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 78,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทีมสุขภาพคลีนิกเติมยาโรคเรื้อรัง รพสต.บ้านต้นไทร ได้จัดทำโครงการคลีนิกเติมยาโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2560 ทำต่อเนื่องจากปีงบประมาณ 2559 เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย และป้องกันการขาดยาซึ่งมีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวัน จำนวน 49 คน และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 135 คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผุ้ป่วยไ้ดรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่รับยาต่อเนื่อง ได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน
  3. ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสุูง ได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต และเจาะเลือดข้อพักเพื่อตรวจสุขภาพปีละ 1 ครั้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 184
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ป่วยมีความรุ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง และเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อการป้องกันภาวะแทรกซ้อน จากกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 184คนได้ถูกต้อง 2.ผู้ป่วยได้รับยาต่อเนื่อง 184 คน
    3.ผู้ป่วยไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากกลุ่มผู้ป่วยจำนวน 184 คน พบผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนไม่เกิน 10 คน
    4.ผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมบ้าน 184 ราย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้ ตรวจสุขภาพ จ่ายยาโรคเรื้อรัง

    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เวลา 07:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดกิจกรรมอบรมผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส ในการป้องกันโรคและป้องก้นภาวะแทรกซ้อน จำนวน 8 ครั้ง โดยแบ่งการอบรมเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเช้า เวลา 07.00 -12.00 น. ช่วงบ่าย เวลา 13.00-16.00 น. มีผู้เข้ารับการอบรม ช่วงเช้า วันละ 118 คน ช่วงบ่าย วันละ 66 คน มีการเจาะเลือดตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อติดตามภาวะสุขภาพคนละ 1 ครั้ง จำนวน 185 คน มีการพบแพทย์หลังเจาะเลือดเพื่อปรับเปลี่ยนยา 184 คน  พบผู้ป่วยเลือดผิดปกติ  60 คน ผู้ปวยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า 50 คน พบผิดปกติต้องส่งต่อ 2 คน พบตาปลาบริเวณเท้า 25 คน ได้รับการขูดเท้าและรับยาตามแผนการรักษา และมีการจ่ายยาเรื้อรังต่อเนื่องเดือนละ 1 ครั้ง 

     

    206 201

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    จัดกิจกรรมอบรมผู้ป่วยโรคเรืือรัง โดยแบ่งการอบรมเป็น 2 ช่วง ช่วงเช้า เวลา 07.00-12.00 น. มีผู้เข้าร่วมอบรม 118 คน ช่วงบ่าย เวลา 13.00-16.00 น. มีผู้เข้ร่วมอบรม 66 คน ดังนี้
    วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559 เรื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับอาหารในผู้ป้วยโรคเบาหวาน และประเมินสุขภาพพร้อมจ่ายยาโรคเรื้อรัง วันที่ 15 ธันวาคม 2559 เรื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอาหารในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และประเมินสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง วันที่ 19 มกราคม 2560 เรืื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการออกกำลังกายแบแบโยคะลดโรคลดภาวะแทรก และประเมินสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 เรื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับการออกกำลังกาย แบบแอโรบิกการแกว่งแขนหรือการนั่งเก้าอี้ลดโรคลดภาวะแทรก และประเมินสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง วันที่ 16 มีนาคม 2560 เรื่อง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเกี่ยวกับด้านอารมณ์และ 2ส และประเมินสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง วันที่ 20 เมษายน 2560 เรื่อง ภาวะแทรกซ้อนในทางไตและอาหารผู้ป่่วยและภาวะไตเสื่อม และประเมินสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง วันที่ 23 พฤษภาคม 2560 เรื่อง การดูแลเท้าในผู้ป่วยเรื้อรังและการตรวจเท้าและประเมินภาวะสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง วันที่ 15 มิถุนายน 2560 เรื่อง การปฏิบัติตัวตามสุขภาพบัญญํติ10ประการ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และประเมินสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง วันที่ 20 กรกฎาคม 2560 เรื่อง ภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและผู้ป่วยความดันโลหิตสูง และประเมินภาวะสุขภาพพร้อมจ่ายยาเรื้อรัง
    จัดกิจกรรมเจาะเลื่อดตรวจสุขภาพประจำปีเพื่อติดตามภาวะสุขภาพ จำนวน 184 คน ๆ ละ 1 ครั้ง และพบแพทย์หลังเจาะเลือดเพื่อทำการปรับเปลี่ยนยา 184 คน  พบผู้ป่วยที่มีผลเลือดผิดปกติต้องเจาะเลือดซ้ำ 60 คน  และผู้ป่วยเรื้อรัง ได้รับการตรวจจอประสาทตา  ทำการตรวจเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน พบผิดปกติต้องส่งต่อ 2 คน พบตาปลาบริเวณเท้า 25 คน ได้รับการขูดเท้าและรับยาตามแผนการรักษา

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผุ้ป่วยไ้ดรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
    ตัวชี้วัด : ผุู้ป่วยได้รับยาต่อเนื่อง จำนวน 184 คน

     

    2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่รับยาต่อเนื่อง ได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยได้รับยาต่อเนื่องได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน จำนวน 184 คน

     

    3 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสุูง ได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต และเจาะเลือดข้อพักเพื่อตรวจสุขภาพปีละ 1 ครั้ง
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการวัดความดันโลหิตและเจาะเลือดข้อพักเพื่อตรวจสุขภาพปีละ 1 ครั้ง จำนวน 184 คน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 184
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 184
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผุ้ป่วยไ้ดรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (2) ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่รับยาต่อเนื่อง ได้รับการตรวจสุขภาพทุกเดือน (3) ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสุูง ได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต และเจาะเลือดข้อพักเพื่อตรวจสุขภาพปีละ 1 ครั้ง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคลีนิกเติมยาโรคเรื้่้อรัง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุกัญญา ขำยา ประธานทีมสุขภาพคลีนิกเติมยาโรคเรื้อรัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด