โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิด สุวรรรสังข์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาเหตุการตายของมารดา 1 ใน 3 เกิดจากการบริหารจัดการการคลอด และ 2 ใน 3 มารดาตายมีโรคหรือภาวะโรคเช่นความดันโลหิตสูงเบาหวานโรคหัวใจฯลฯอัตราส่วนการตายของมารดา
ปี พ.ศ.2555 เท่ากับ 48.0 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน (WHO,UNICEF,2012) และ ในปี 2556 ลดลงเหลือ 37.6 ต่อการเกิด มีชีพแสนคน (ม.มหิดล,2013 ) ซึ่งยังสูงกว่าเป้าหมาย พัฒนาสหัสวรรษ (MDGS) ที่กำหนดให้ลดอัตรามารดาตาย เหลือ 13 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ใน พ.ศ. 2558 แสดงว่าปัญหาการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์และการคลอดยังเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ อีกทั้งค่าเฉลี่ยหญิงตั้งครรภ์มีค่าไอโอดีนน้อยกว่ามาตรฐาน มีแนวโน้มสูงขึ้น ในปี 2554, 2555, 2556 ร้อยละ 39.9, 46.4 และ 51.3 ตามลาดับ (สานักโภชนาการ, 2556)
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นภารกิจสำคัญของกรมอนามัยที่มีการดำเนินงานพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและนานาประเทศว่ากรมอนามัยเป็นหน่วยงานหลักของการพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็กดังนั้นบุคลากรในองค์กรจึงจำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์ทันต่อเหตุการณ์
การเปลี่ยนแปลงทั้งด้านสภาพสังคมเศรษฐกิจ ของประเทศและนานาประเทศ
แม่ที่มาฝากครรภ์ทันที คลอดที่สถานบริการสาธารณสุข เพื่อการคลอดที่ปลอดภัยเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อยจนลูกอายุ6 เดือน และเลี้ยงด้วยนมแม่ควบคู่กับอาหารตามวัยจนอายุ 2 ปี หรือนานกว่านั้น ส่งเสริมให้ลูกมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง เจริญเติบโตตามวัย มีพัฒนาการดีด้วยการเล่านิทาน อ่านหนังสือกับลูก เล่นกับลูก การบรรลุเป้าหมายเช่นนี้ได้ ประชาชนต้องตระหนักรู้ มีพฤติกรรมสุขภาพทางด้านแม่และเด็กที่ดีขึ้นอยู่ในชุมชนเข้มแข็ง มีแกนนำที่ความเข้มแข็ง มีระบบการจัดการความรู้มีแผนงานโครงการที่สอดคล้องกับปัญหาท้องถิ่นสามารถเฝ้าระวังปัญหา พฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก และแก้ไขปัญหาได้ทันที
ภาคีเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพสูงทั้งการจัดทำแผนงาน / โครงการที่เกี่ยวข้องกับอนามัยแม่และเด็ก ที่สอดคล้องกับปัญหาท้องถิ่นให้การสนับสนุนงบประมาณอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่องโดยการมีส่วนร่วมของแกนนำชุมชนดำเนินงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง พัฒนาเป็นค่านิยมร่วมของชุมชน และได้รับสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน NGO ด้วยการนำรูปแบบ มาตรฐาน การพัฒนาอนามัยแม่และเด็กมาใช้
การสร้างค่านิยมจะเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นหากชุมชนมีส่วนร่วมด้วยการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงด้านสุขภาพอนามัยอย่างต่อเนื่องถูกต้องให้กับประชาชนบนพื้นฐานความถูกต้องทางวิชาการสอดคล้องกับสภาพปัญหาด้านสุขภาพแม่และเด็ก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์และอสม.เข้าร่วมรับการอบรม ร้อยละ100
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ> 60
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ > 65
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลงร้อยละ
- เพื่อให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 90
- เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 100
- เพื่อให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนมากกว่า ร้อยละ 50
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์หญิงวัยเจริญพันธ์อสมและแม่อาสามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารก
- หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์ อสม.และแม่อาสา มีทักษะในการดูแลสุขภาพมารดาละทารก
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
4.เพื่อลดภาวะตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
4.เพื่อส่งเสริมมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
5.เพื่อลดอัตราการคลอดบุตรน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของหญิงตั้งครรภ์
- อสม.และแม่อาสาสามารถค้นหาและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงให้ไปรับการดูแลและฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลทันที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.อบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปดังนี้
-หญิงวัยเจริญพันธ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนครอบครัวเพิ่มขึ้น
-หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเพื่อลดภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขณะตั้งครรภ์ได้
-หญิงหลังคลอดเข้ารับการอบบรม จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
-อบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข และแม่อาสา จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีความรู้ความเข้าใจในการให้คำปรึกษาเรื่องวางแผนครอบครัวแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่จะเกิดกับสุขภาพได้เพิ่มขึ้น
100
100
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
อบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปดังนี้
หญิงวัยเจริญพันธ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนครอบครัวเพิ่มขึ้น
หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเพื่อลดภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขณะตั้งครรภ์ได้
หญิงหลังคลอดเข้ารับการอบบรม จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน
อบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข และแม่อาสา จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ได้มีความรู้ความเข้าใจในการให้คำปรึกษาเรื่องวางแผนครอบครัวแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่จะเกิดกับสุขภาพได้เพิ่มขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์และอสม.เข้าร่วมรับการอบรม ร้อยละ100
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ> 60
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ > 65
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลงร้อยละ
ตัวชี้วัด :
5
เพื่อให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด :
6
เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด :
7
เพื่อให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนมากกว่า ร้อยละ 50
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์และอสม.เข้าร่วมรับการอบรม ร้อยละ100 (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ> 60 (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ > 65 (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลงร้อยละ (5) เพื่อให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 90 (6) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 100 (7) เพื่อให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนมากกว่า ร้อยละ 50
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสมคิด สุวรรรสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสมคิด สุวรรรสังข์
กันยายน 2560
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4135-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาเหตุการตายของมารดา 1 ใน 3 เกิดจากการบริหารจัดการการคลอด และ 2 ใน 3 มารดาตายมีโรคหรือภาวะโรคเช่นความดันโลหิตสูงเบาหวานโรคหัวใจฯลฯอัตราส่วนการตายของมารดา
ปี พ.ศ.2555 เท่ากับ 48.0 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน (WHO,UNICEF,2012) และ ในปี 2556 ลดลงเหลือ 37.6 ต่อการเกิด มีชีพแสนคน (ม.มหิดล,2013 ) ซึ่งยังสูงกว่าเป้าหมาย พัฒนาสหัสวรรษ (MDGS) ที่กำหนดให้ลดอัตรามารดาตาย เหลือ 13 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ใน พ.ศ. 2558 แสดงว่าปัญหาการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์และการคลอดยังเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ อีกทั้งค่าเฉลี่ยหญิงตั้งครรภ์มีค่าไอโอดีนน้อยกว่ามาตรฐาน มีแนวโน้มสูงขึ้น ในปี 2554, 2555, 2556 ร้อยละ 39.9, 46.4 และ 51.3 ตามลาดับ (สานักโภชนาการ, 2556)
งานอนามัยแม่และเด็กเป็นภารกิจสำคัญของกรมอนามัยที่มีการดำเนินงานพัฒนามาอย่างต่อเนื่องและได้รับการยอมรับทั้งในประเทศและนานาประเทศว่ากรมอนามัยเป็นหน่วยงานหลักของการพัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็กดังนั้นบุคลากรในองค์กรจึงจำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์ทันต่อเหตุการณ์
การเปลี่ยนแปลงทั้งด้านสภาพสังคมเศรษฐกิจ ของประเทศและนานาประเทศ
แม่ที่มาฝากครรภ์ทันที คลอดที่สถานบริการสาธารณสุข เพื่อการคลอดที่ปลอดภัยเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อยจนลูกอายุ6 เดือน และเลี้ยงด้วยนมแม่ควบคู่กับอาหารตามวัยจนอายุ 2 ปี หรือนานกว่านั้น ส่งเสริมให้ลูกมีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง เจริญเติบโตตามวัย มีพัฒนาการดีด้วยการเล่านิทาน อ่านหนังสือกับลูก เล่นกับลูก การบรรลุเป้าหมายเช่นนี้ได้ ประชาชนต้องตระหนักรู้ มีพฤติกรรมสุขภาพทางด้านแม่และเด็กที่ดีขึ้นอยู่ในชุมชนเข้มแข็ง มีแกนนำที่ความเข้มแข็ง มีระบบการจัดการความรู้มีแผนงานโครงการที่สอดคล้องกับปัญหาท้องถิ่นสามารถเฝ้าระวังปัญหา พฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก และแก้ไขปัญหาได้ทันที
ภาคีเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภาพสูงทั้งการจัดทำแผนงาน / โครงการที่เกี่ยวข้องกับอนามัยแม่และเด็ก ที่สอดคล้องกับปัญหาท้องถิ่นให้การสนับสนุนงบประมาณอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่องโดยการมีส่วนร่วมของแกนนำชุมชนดำเนินงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง พัฒนาเป็นค่านิยมร่วมของชุมชน และได้รับสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน NGO ด้วยการนำรูปแบบ มาตรฐาน การพัฒนาอนามัยแม่และเด็กมาใช้
การสร้างค่านิยมจะเข้มแข็งมากยิ่งขึ้นหากชุมชนมีส่วนร่วมด้วยการสื่อสารประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงด้านสุขภาพอนามัยอย่างต่อเนื่องถูกต้องให้กับประชาชนบนพื้นฐานความถูกต้องทางวิชาการสอดคล้องกับสภาพปัญหาด้านสุขภาพแม่และเด็ก
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์และอสม.เข้าร่วมรับการอบรม ร้อยละ100
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ> 60
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ > 65
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลงร้อยละ
- เพื่อให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 90
- เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 100
- เพื่อให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนมากกว่า ร้อยละ 50
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงตั้งครรภ์หญิงวัยเจริญพันธ์อสมและแม่อาสามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพมารดาและทารก
- หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์ อสม.และแม่อาสา มีทักษะในการดูแลสุขภาพมารดาละทารก
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ 4.เพื่อลดภาวะตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น 4.เพื่อส่งเสริมมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน 5.เพื่อลดอัตราการคลอดบุตรน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของหญิงตั้งครรภ์
- อสม.และแม่อาสาสามารถค้นหาและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงให้ไปรับการดูแลและฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลทันที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้ |
||
วันที่ 20 กันยายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.อบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปดังนี้ -หญิงวัยเจริญพันธ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนครอบครัวเพิ่มขึ้น -หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเพื่อลดภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขณะตั้งครรภ์ได้ -หญิงหลังคลอดเข้ารับการอบบรม จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน -อบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข และแม่อาสา จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีความรู้ความเข้าใจในการให้คำปรึกษาเรื่องวางแผนครอบครัวแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่จะเกิดกับสุขภาพได้เพิ่มขึ้น
|
100 | 100 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
อบรมให้ความรู้แก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สรุปดังนี้ หญิงวัยเจริญพันธ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนครอบครัวเพิ่มขึ้น หญิงตั้งครรภ์เข้ารับการอบรม จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติขณะตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเพื่อลดภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขณะตั้งครรภ์ได้ หญิงหลังคลอดเข้ารับการอบบรม จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวหลังคลอดและการเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือน อบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข และแม่อาสา จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีความรู้ความเข้าใจในการให้คำปรึกษาเรื่องวางแผนครอบครัวแก่หญิงวัยเจริญพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่จะเกิดกับสุขภาพได้เพิ่มขึ้น
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์และอสม.เข้าร่วมรับการอบรม ร้อยละ100 ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ> 60 ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ > 65 ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลงร้อยละ ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | เพื่อให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 90 ตัวชี้วัด : |
|
|||
6 | เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 100 ตัวชี้วัด : |
|
|||
7 | เพื่อให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนมากกว่า ร้อยละ 50 ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 100 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธ์และอสม.เข้าร่วมรับการอบรม ร้อยละ100 (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์อายุครรภ์ 12 สัปดาห์ร้อยละ> 60 (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ > 65 (4) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดลดลงร้อยละ (5) เพื่อให้ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักมากกว่า2,500 กรัม ร้อยละ 90 (6) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการติดตามเยี่ยมหลังคลอดครบ 3ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 100 (7) เพื่อให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างน้อย 6 เดือนมากกว่า ร้อยละ 50
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยเจริญพันธุ์ มารดาและทารก จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4135-1-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสมคิด สุวรรรสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......