กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน


“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี ”

ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวิไลวรรณ อย่างดี

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี

ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5294-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5294-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็ก ถือเป็นทรัพยากรที่มีค่าของประเทศ เพราะเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต ซึ่งประเทศไทยได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาคน ที่ได้กำหนดพันกิจของการพัฒนาประเทศให้มีการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ คุณธรรม ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนที่สำคัญประการหนึ่ง ได้แก่ การเสริมสร้างสุขภาวะคนไทยให้มีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ ซึ่งสอดรับกับนโยบายของ อบต.นาทอนที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาคน โดยต้องการให้ประชาชนในตำบลนาทอนได้ตระหนักถึงเรื่องการดูแลสุขภาพเพื่อสุขภาวะทั้ง 4 มิติ ทางกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณสุขภาพอนามัยจึงเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีน่าอยู่ได้อย่างเท่าเทียมกันและอยู่ร่วมกันกับ การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้แก่เด็กปฐมวัย จึงเป็นภารกิจสำคัญที่สำคัญยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องตระหนักถึงการเจริญเติบโต สุขภาพอนามัย และพัฒนาการของเด็ก ซึ่งเด็กปฐมวัยยังไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ดี ประกอบกับสภาพสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบันที่เปลี่ยนไป พ่อแม่ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประสบปัญหาการเลี้ยงดูบุตรหลาน เนื่องจากต้องใช้เวลาเพื่อการประกอบอาชีพ จึงต้องนำบุตรหลานไปเข้ารับการเลี้ยงดูในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าโรงเรียน
เนื่องจากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก ทำให้เชื้อโรคสามารถแพร่เชื้อและติดต่อสู่กันได้ง่ายเมื่อมีเด็กเจ็บป่วยเพราะเด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำ จึงมีโอกาสป่วยได้โดยเฉพาะโรคติดต่อที่สำคัญและพบบ่อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้แก่ โรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ โรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วง โรคตาแดง โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เช่น คางทูม อีสุกอีใส และหัด เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีโรคอื่นๆ เช่น โรคและความผิดปกติในช่องปากที่มีปัญหาชัดเจนและพบมาในเด็ก คือ โรคฟันผุ ซึ่งเด็กกลุ่มนี้จะขาดการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมจึงเป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะต้องมีการดูแลจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดปลอดภัย และปลอดโรค ทั้งนี้จะต้องได้รับความร่วมมือจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้ดูแลเด็กและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานการดูแลและส่งเสริมสุขภาพให้เด็กมีสุขอนามัยที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย มีความปลอดภัยและปลอดโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และจากการสรุปข้อมูลสุขภาพประจำภาคเรียนพบว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ซึ่งมีเด็กทั้งหมด จำนวน 90 คน พบว่า ทีป่วยเป็นโรคหวัดบ่อยๆประมาณร้อยละ 39ที่เป็นโรคผิวหนัง ร้อยละ9 ที่ป่วยเป็นโรคฟันผุ 55 และน้ำหนักโภชนาการไม่สมส่วน 3 จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีปัญหาด้านสุขภาพ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเด็กในด้านการดูแลสุขภาพอนามัยที่ดีและพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ จึงมีแนวคิดเรื่องโครงการ “ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรคปลอดภัยอนามัยดี” ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพและการดูแลและป้องกันโรคให้แก่เด็กและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง ตั้งแต่เด็กเป็นการลงทุนในการดูแลสุขภาพที่สามารถปันผลให้ได้ตลอดชีวิต ครูและผู้ปกครองสามารถสร้างแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก โดยร่วมมือกับสาธารณสุขอำเภอทุ่งหว้า โรงพยาบาลทุ่งหว้า รพ.สต.บ้านวังตง องค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านวังเจริญราษฎร์ในการส่งเสริมสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย
  3. เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยและการป้องกัน โรคภัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน”
  2. กิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ”
  3. กิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง”
  4. ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน
  5. กิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน”
  6. ประชุมชี้แจงโครงการ“ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี ” กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย
  7. เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก
  8. อบรมให้ความรู้เรื่อง ”พัฒนาการสมวัย ปลอดภัยไว้ก่อน” โดยเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตง
  9. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน” โดยเจ้าหน้าที่ ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้า
  10. ประเมินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย
-เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
-เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ”

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-แผนกิจกรรมอาหารดี มีประโยชน์
-เอกสารประกอบการเรียนการสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กได้รู้เข้าถึงโทษของขนมกรุบกรอบ

 

0 0

2. กิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน”

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-เด็กแปรงฟันหลังจากรับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน
-ชุดนิทานส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาการ และใช้ในการยืม โดยผู้ปกครองยืมหนังสือนิทานกลับไปลูกฟังที่บ้าน
-เอกสารประกอบการเรียนการสอน
-แบบประเมินความสะอาดจากการแปรงฟันเด็กหลังจากการับประทานอาหารเที่ยงทุกวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กฟันสะอาด
-สร้างสุขนิสัยที่ดีในการบริโภคอาหาร
-เด็กสนุกสนานและเกิดจินตนาการกับนิทาน
-ใช้สำหรับให้ผู้ปกครองยืมหนังสือนิทานกลับไปให้ลูกฟังที่บ้าน
-ส่งเสริมพฤติกรรมให้กับเด็กในการดูแลฟันและการรักษาสุขภาพร่างกายให้ปลอดภัยและแข็งแรง

 

0 0

3. กิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน ฟ.ฟันแข็งแรง”

วันที่ 1 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-บันทึกการตรวจสอบนม
-ตรวจเช็คนมก่อนให้เด็กดื่ม
-ให้เด็กดื่มนมทุกวัน
-แบบประเมินการดื่มนม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กได้รู้ถึงประโยชน์ของนมจืด
-เด็กทุกคนได้ดื่มนมจืด

 

0 0

4. กิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน”

วันที่ 3 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

-ครูชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงให้กับเด็กที่ไม่ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานทุกเดือน
-ติดตามประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-สามารถทราบและส่งเสริมภาวะโภชนาการให้กับเด็กที่มีโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ได้
-ครูและผู้ปกครองร่วมกันส่งเสริมภาวะโภชนาการให้กับเด็กอย่างถูกวิธี

 

0 0

5. ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 25 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูและคณะกรรมการศูนย์เข้าใจเป้าหมายโครงการ

 

0 0

6. ประชุมชี้แจงโครงการ“ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี ” กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 4 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 150 คนๆละ20บ.= 3,000 บาท
-ค่าวัสดุเครื่องเขียน/กระดาษ = 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้รับผิดชอบโครงการชี้แจงรายละเอียดของการจัดทำโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี ให้ผู้ปกครองเข้าใจและให้ความร่วมมือกับโครงการ
-ผู้ปกครองรับทราบและร่วมดำเนินการตามกิจกรรม

 

0 0

7. เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก

วันที่ 11 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

-เจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.วังตงให้ความรู้แก่เด็กและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก
-ครูจัดเตรียมความพร้อมของเด็กรอการตรวจช่องปากและฟัน - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม100 คนๆละ 20 บาท = 2,000 บาท
- ค่าวิทยากร 2 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 300 บ.= 1800 บ. - ค่าวัสดุอุปกรณ์/แผ่นโปสเตอร์/= 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ครู เด็ก เจ้าหน้าที่ได้ความรู้เกี่ยวกับสภาวะช่องปากและฟันของเด็ก
-เด็กได้รับการตรวจสภาวะช่อปาก
-เด็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพปากและฟัน รวมถึงการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์

 

0 0

8. ประเมินโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

รวบรวมเอกสารการรายงานผลการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-รายงานผลการดำเนินโครงการกลับกองทุนหลักประกันสุขภาพ

 

0 0

9. อบรมให้ความรู้เรื่อง ”พัฒนาการสมวัย ปลอดภัยไว้ก่อน” โดยเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตง

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรจาก รพ.สต.มาให้ความรู้ผู้ปกครองในเรื่อง การประเมินพัฒนาการเด็กแต่ละช่วงวัย การบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ที่มีประโยชน์และเหมาะสมกับวัยของเด็ก และการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย

-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม100 คนๆละ 20 บ. = 2,000 บ. -ชุดที่ 1 ค่าวิทยากร 2 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆ 300 บาท= 1800 บ.
-ชุดสาธิตคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM)90 ชุด เล่มละ 75 บ. =6,750 บ.
-ชุดสาธิตอุปกรณ์ชุดสาธิตคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM)2 ชุดๆละ3,500บ.= 7,000 บ.
-เครื่องมือตรวจสุขภาพเด็ก 2 ชุดๆละ 1,250บ. = 2,500 บ.
-ผ้าเช็ดมือ 90 ผืนๆละ15 บ. =1,350
-ชุดที่2 ค่าวิทยากร 1 คนจำนวน 1 ชั่วโมงๆละ 300 บ= 300 บ.
-อุปกรณ์สาธิต หลอดไฟ ยูวี 6 ชุดๆละ 1,500 บ.=9,000

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผูปกครองได้รับความรู้เรื่อง การประเมินพัฒนาการเด็ก การบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัยเด็กและการดูแลรักษาของเด็กปฐมวัย

 

0 0

10. อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน” โดยเจ้าหน้าที่ ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้า

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

-เชิญเจ้าหน้าที่ทันตกรรมจากโรคพยาบาลทุ่งหว้ามาให้ความรู้แก่ครู ผู้ปกครอง และเด็กเรื่องการดูแลสุขภาพปากและฟันพร้อมทั้งให้ผู้ปกครองและเด็กได้ร่วมทดลองปฏิบัติจริง

-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 200 คนๆละ20บ.=4,000 บ.
-ค่าวิทยากร 3 คนๆละ 3 ชั่วโมงๆละ 600 บ. = 5,400 บ.
-ชุดอุปกรณ์สาธิต แปรงสีฟันและยาสีฟัน 90 ชุด 50 บ. = 4,500

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ทุกฝ่ายได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เข้าใจ รับทราบเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพปากและฟันและการรับประทานอาหาร
-เด็กและผู้ปกครองได้ทำกิจกรรมร่วมกัน
-แบบประเมินความพึงพอใจผู้ปกครอง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟัน
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัยทุกคน
0.00

 

3 เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยและการป้องกัน โรคภัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : มีระบบเฝ้าระวังภาวะในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปากของตนเองสามารถนำมาความรู้ใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย (3) เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยและการป้องกัน โรคภัยภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม “กินเสร็จแปรง ฟันแข็งแรงทุกคน” (2) กิจกรรม “ลด-เลิก ขนมกรุบกรอบ” (3) กิจกรรม “ดื่มนมจืดทุกวัน  ฟ.ฟันแข็งแรง” (4) ประชุมชี้แจงครูผู้ดูแลเด็กและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน (5) กิจกรรม“น้ำหนัก-ส่วนสูง สมส่วน” (6) ประชุมชี้แจงโครงการ“ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค  ปลอดภัย  อนามัยดี ” กับผู้ปกครองของกลุ่มเป้าหมาย (7) เจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตงให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลสุขภาพช่องปากและตรวจสภาวะช่องปากเด็ก (8) อบรมให้ความรู้เรื่อง ”พัฒนาการสมวัย ปลอดภัยไว้ก่อน” โดยเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านวังตง (9) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน” โดยเจ้าหน้าที่ ทันตกรรมจากโรงพยาบาลทุ่งหว้า (10) ประเมินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี

รหัสโครงการ 62-L5294-3-02 ระยะเวลาโครงการ 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค ปลอดภัย อนามัยดี จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5294-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิไลวรรณ อย่างดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด