โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลเมืองพัทลุง
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลเมืองพัทลุง |
รหัสโครงการ | 2562-L7572-05-001 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองพัทลุง |
วันที่อนุมัติ | 7 มกราคม 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 ธันวาคม 2561 - 24 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2562 |
งบประมาณ | 150,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอุษณีย์ นมรักษ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 25000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ด้วยเทศบาลเมืองพัทลุง ได้ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุข ในการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และฟื้นฟูสภาพสำหรับประชาชนทุกคนมาอย่างต่อเนื่องและตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 ข้อ 10 (5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองพัทลุง ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ซึ่งประชาชนสามารถเข้าถึงบริการและได้รับการดูแลสุขภาพอย่างทั่วถึง บรรเทาความเดือดร้อนของประชาชน ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นต่อชีวิตและสุขภาพ รวมถึงการฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของประชาชนในพื้นที่ เทศบาลเมืองพัทลุงจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ เทศบาลเมืองพัทลุง ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล หรือฟื้นฟูสมรถภาพกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ร้อยละ 70 ของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล หรือฟื้นฟูสมรรถภาพ |
0.00 | |
2 | เพื่อให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่นๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ในพื้นที่เทศบาลเมืองพัทลุง ร้อยละ 70 ของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่นๆ ในการดูแลสุขภาพ |
0.00 | |
3 | เพื่อให้การแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือ ภัยพิบัติฉุกเฉินได้ทันท่วงทีและทั่วถึง ร้อยละ 70 ของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ได้รับแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงทีและทั่วถึง |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 150,000.00 | 0 | 0.00 | 150,000.00 | |
1 ธ.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 | ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล เชิงรุกหรือฟื้นฟูสมรรถภาพกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติตามความจำเป็นและเหมาะสม | 0 | 150,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 150,000.00 | 0 | 0.00 | 150,000.00 |
- การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสมรรถภาพประชาชนในระหว่างและหลังสถานการณ์อุกทกภัย และภัยพิบัติต่างๆ
- การให้การช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่นๆในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์อุทกภัยและภัยพิบัติต่างๆ
- ประชาชนในพื้นที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่เทศบาลเมืองพัทลุง ตามความจำเป็นและเหมาะสม
- ประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองพัทลุงได้รับการช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานอื่นๆ ในการดูแลสุขภาพประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ตามความจำเป็นและเหมาะสม
- สามารถแก้ไขปัญหากรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติฉุกเฉินได้ทันท่วงทีและทั่วถึง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 มี.ค. 2562 13:57 น.