โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด ”
ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายถาวร ศรีนวล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดจันทร์
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด
ที่อยู่ ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L524321 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดจันทร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60L524321 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,775.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดจันทร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเจริญเติบโตของเด็ก ถือเป็นตัวชี้วัด ที่สำคัญต่อสุขภาพโดยรวม นั่นคือ สติปัญญา พัฒนาการ และการเจ็บป่วย เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม และเด็กที่มีภาระเตี้ย โดยเฉพาะในช่วง 3 ปีแรกของชีวิต เป็นผลให้เด็กเจ็บป่วยบ่อย หายช้า และรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ผลทางด้านการพัฒนาสมอง เด็กมีสติปัญญาต่ำ พัฒนาการล่าช้า ซึ่งแก้ไขได้ยาก การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ เมื่อเริ่มมีการปฏิสนธิในครรภ์มารดามีการเติบโตของเซลล์เพิ่มจำนวนและขนาดของเซลล์เพื่อสร้างอวัยวะต่าง ๆ กระดูกและกล้ามเนื้อทำให้โครงสร้างของร่ายกายใหม่ขึ้น ซึ่งเป็นผลมากจากสารอาหารที่ได้รับจากแม่โดยผ่านทางรก ทารกในครรภ์จึงเติบโตขึ้นอย่างเหมาะสม และมีน้ำหนักแรกเกิดดี ดังนั้นน้ำหนักตัวของหญิงตั้งครรภ์ที่เพิ่มขึ้นได้ตามมาตรฐานตลอดการตั้งครรภ์สะท้อนถึงการได้รับอาหารที่เพียงพอของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้ทารกมีการเจริญเติบโตดี
ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวัดจันทร์ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดจันทร์ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์และการดูแลสุขภาพแม่ลูกหลังคลอดเพื่อให้เด็กที่อยู่ในครรภ์ ภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์มีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาโครงสร้างทางด้านร่างกายและสมองของทารกในครรภ์ โดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมองส่งผลต่อระดับเชาว์ปัญญา และพัฒนาการของเด็กรวมทั้งมีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันโรค พร้อมที่จะเกิดมาในอนาคตให้ได้รับการดูแลที่ถูกวิธีเพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีและเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคต และยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกผันของครอบครัว จึงจัดโครงการ รักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์ ประจำปี 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
- ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
- ข้อที่ 3เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นแม่ที่ดีในอนาคต
- ข้อที่ 4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
- ข้อที่ 5เพื่อสร้างความผูกพันของคนในครอบครัว
- ข้อที่ 6เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้สุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอดดีขึ้น
2.ทำให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกวิธี
3.ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ในขณะตั้งครรภ์
4.ทำให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่าง ถูกวิธี
5.ทำให้สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว
6.ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจกับหญิงตั้งครรภ์และประชาชนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
ตัวชี้วัด : ทำให้สุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอดดีขึ้น
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกวิธี
3
ข้อที่ 3เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นแม่ที่ดีในอนาคต
ตัวชี้วัด : ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ในขณะตั้งครรภ์
4
ข้อที่ 4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างถูกต้อง
5
ข้อที่ 5เพื่อสร้างความผูกพันของคนในครอบครัว
ตัวชี้วัด : สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว
6
ข้อที่ 6เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจกับหญิงตั้งครรภ์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
10
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (3) ข้อที่ 3เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นแม่ที่ดีในอนาคต (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (5) ข้อที่ 5เพื่อสร้างความผูกพันของคนในครอบครัว (6) ข้อที่ 6เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L524321
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายถาวร ศรีนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด ”
ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายถาวร ศรีนวล
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L524321 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดจันทร์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัดจันทร์ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60L524321 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,775.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดจันทร์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเจริญเติบโตของเด็ก ถือเป็นตัวชี้วัด ที่สำคัญต่อสุขภาพโดยรวม นั่นคือ สติปัญญา พัฒนาการ และการเจ็บป่วย เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม และเด็กที่มีภาระเตี้ย โดยเฉพาะในช่วง 3 ปีแรกของชีวิต เป็นผลให้เด็กเจ็บป่วยบ่อย หายช้า และรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ผลทางด้านการพัฒนาสมอง เด็กมีสติปัญญาต่ำ พัฒนาการล่าช้า ซึ่งแก้ไขได้ยาก การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ เมื่อเริ่มมีการปฏิสนธิในครรภ์มารดามีการเติบโตของเซลล์เพิ่มจำนวนและขนาดของเซลล์เพื่อสร้างอวัยวะต่าง ๆ กระดูกและกล้ามเนื้อทำให้โครงสร้างของร่ายกายใหม่ขึ้น ซึ่งเป็นผลมากจากสารอาหารที่ได้รับจากแม่โดยผ่านทางรก ทารกในครรภ์จึงเติบโตขึ้นอย่างเหมาะสม และมีน้ำหนักแรกเกิดดี ดังนั้นน้ำหนักตัวของหญิงตั้งครรภ์ที่เพิ่มขึ้นได้ตามมาตรฐานตลอดการตั้งครรภ์สะท้อนถึงการได้รับอาหารที่เพียงพอของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้ทารกมีการเจริญเติบโตดี ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวัดจันทร์ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดจันทร์ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์และการดูแลสุขภาพแม่ลูกหลังคลอดเพื่อให้เด็กที่อยู่ในครรภ์ ภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์มีความสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาโครงสร้างทางด้านร่างกายและสมองของทารกในครรภ์ โดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมองส่งผลต่อระดับเชาว์ปัญญา และพัฒนาการของเด็กรวมทั้งมีผลต่อการสร้างภูมิคุ้มกันโรค พร้อมที่จะเกิดมาในอนาคตให้ได้รับการดูแลที่ถูกวิธีเพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดีและเป็นกำลังสำคัญของประเทศชาติในอนาคต และยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกผันของครอบครัว จึงจัดโครงการ รักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์ ประจำปี 2560 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
- ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
- ข้อที่ 3เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นแม่ที่ดีในอนาคต
- ข้อที่ 4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง
- ข้อที่ 5เพื่อสร้างความผูกพันของคนในครอบครัว
- ข้อที่ 6เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ทำให้สุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอดดีขึ้น 2.ทำให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกวิธี 3.ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ในขณะตั้งครรภ์ 4.ทำให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่าง ถูกวิธี 5.ทำให้สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว 6.ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจกับหญิงตั้งครรภ์และประชาชนในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด ตัวชี้วัด : ทำให้สุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอดดีขึ้น |
|
|||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกวิธี |
|
|||
3 | ข้อที่ 3เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นแม่ที่ดีในอนาคต ตัวชี้วัด : ทำให้หญิงตั้งครรภ์มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวเป็นคุณแม่ในขณะตั้งครรภ์ |
|
|||
4 | ข้อที่ 4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างถูกต้อง |
|
|||
5 | ข้อที่ 5เพื่อสร้างความผูกพันของคนในครอบครัว ตัวชี้วัด : สร้างความผูกพันของคนในครอบครัว |
|
|||
6 | ข้อที่ 6เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : ทำให้เกิดขวัญและกำลังใจกับหญิงตั้งครรภ์ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 10 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 10 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (3) ข้อที่ 3เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีให้กับหญิงตั้งครรภ์เพื่อการเตรียมตัวเป็นแม่ที่ดีในอนาคต (4) ข้อที่ 4 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง (5) ข้อที่ 5เพื่อสร้างความผูกพันของคนในครอบครัว (6) ข้อที่ 6เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้กับหญิงตั้งครรภ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรักห่วงใยสุขภาพหญิงมีครรภ์และเด็กแรกเกิด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L524321
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายถาวร ศรีนวล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......